จากหนังสือ ทำเนียบข้าราชการหัวเมือง ร.ศ. 125 หรือปีพ.ศ. 2450 (ค.ศ. 1907) ปรากฏว่า ในหนังสือดังกล่าว เขียนว่า ข้าราชการในบริเวณเจ็ดหัวเมืองภาคใต้ มีเจ้าเมืองที่เป็นชาวมลายูอยู่ 6 เมือง และหนึ่งในเมืองดังกล่าว คือเจ้าเมืองเมืองสายบุรี มีคำชัดเจนว่า ขอบเขตร์ประเทศมลายู และในชื่อบรรดาศักดิ์ของเจ้าเมืองดังกล่าว ยังได้วงเล็บชื่อในภาษามลายูของเจ้าเมืองดังกล่าว แต่อาจผิดเพี้ยนตามสำเนียงของสยาในสมัยนั้น เพียงสังเกตว่า มีสามเมืองที่มีชื่อนำหน้าตามชื่อบรรพบุรุษ ซึ่งคงต้องศึกษาให้ลึกยิ่งขึ้นติ่ไป คือ เจ้าเมืองระแงะ (นิเงาะ) เจ้าเมืองยะหริ่ง (นิโวะ) และเจ้าเมืองสายบุรี (นิขดา) สำหรับนิขดา น่าจะหมายถึงเต็งกูอับดุลมุตตาลิบ (นิแปะ) ใครมีข้อมูลใด ขอความกรุณาร่วมแลกเปลี่ยนเพื่อค้นหาข้อมูลที่ตรงขึ้น
Ekonomi/Bisnis
- Halaman Pertama
- About us
- Activities
- Enterprenuership
- Scholarship
- Agriculture
- Tourism
- Education/Development
- NSC Malay Studies Library
- Community Development
- Advisers of NSC
- NSC Kelantan Library
- Staff of NSC
- NSC Malayo-Polynesia library
- Rumah Nusantara II
- Nusantara Studies Institute
- Think Tank
- Rumah Nusantara
- Nusantara Innovation
Khamis, 17 April 2025
Ahad, 13 April 2025
ตัวแทนคณะจากกรมศิลปวัฒนธรรมมาเลเซีย
โดย นิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน
วันนี้นักเคลื่อนไหวทางวัฒนธรรม คุณ Arjunasukma Abe Yie และครอบครัว ได้เดินทางมาเยี่ยมที่บ้านนูซันตารา เขามาเป็นตัวแทนคณะจากกรมศิลปวัฒนธรรมมาเลเซีย ด้วยคณะดังกล่าวไม่ได้รับการอนุมัติเดินทางออกนอกประเทศ เพราะทำการขออนุญาตกระชันชิดเกินไป ครั้งแรกที่พบกับเขา เมื่อหลายปีก่อน ที่งาน Kenduri Seni Melayu ที่เมืองตันหยงปีนัง หมู่เกาะเรียว อินโดเนเซีย เราได้พูดคุยเรื่องดีเกร์บารัต และการแสดงอื่น ในการพูดคุยครั้งนี้ ทำให้ผมเริ่มความคิดในการค้นหาบันทึกความจำของนักเล่นดีเกร์บารัตคนหนึ่ง ที่ชื่อ นิฮาชิม หรือที่รู้จักของคนทั่วไปคือ นิโน๊ะ เจ๊าะไอร้อง
Rabu, 9 April 2025
Langgan:
Catatan (Atom)