Selasa, 18 Mac 2008

คณะรัฐมนตรีมาเลเซีย ปี 2008

หลังจากการเลือกตั้งครั้งที่ 12 ของประเทศมาเลเซีย โดยพรรคแนวร่วมแห่งชาติได้จัดตั้งรัฐบาล แม้ว่าจำนวน ส.ส. จะลดลง และมี 5 รัฐที่ถูกฝ่ายค้านยึดได้ เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2008 นายอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวี ได้ประกาศคณะรัฐมนตรีชุดใหม่ ดังต่อไปนี้

นายกรัฐมนตรี : Datuk Seri Abdullah Ahmad Badawi
รองนายกรัฐมนตรี : Datuk Seri Najib Razak

สำนักนายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรี : Tan Sri Bernard Dompok
รัฐมนตรี : Datuk Seri Mohamed Nazri Abdul Aziz
รัฐมนตรี : Datuk Ahmad Zahid Hamidi
รัฐมนตรี : Datuk Zaid Ibrahim (senator)
รัฐมนตรี : Datuk Amirsham A Aziz (senator)
รัฐมนตรีช่วย : Datuk Johari Baharum
รัฐมนตรีช่วย : Datuk Dr Mashitah Ibrahim (senator)
รัฐมนตรีช่วย : S K Devamany


รัฐมนตรีช่วย
: Datuk Hasan Malek

กระทรวงมหาดไทย
รัฐมนตรีว่าการ: Datuk Seri Syed Hamid Albar
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Chor Chee Heung
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Wan Ahmad Farid Wan Salleh (วุฒิสมาชิก)

กระทรวงการคลัง
รัฐมนตรีว่าการ: Datuk Seri Abdullah Ahmad Badawi
รัฐมนตรีว่าการคนที่ II : Tan Sri Nor Mohamed Yakcop
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Ahmad Husni Mohamad Hanadzlah
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Kong Cho Ha

กระทรวงการคมนาคม
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Ong Tee Keat
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Anifah Aman

กระทรวงโยธาธิการ
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Ir. Mohd Zin Mohamed
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Yong Khoon Seng

กระทรวงอุตสาหกรรมการเกษตรและการค้าล่วงหน้า
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Peter Chin Fah Kui
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : A Kohilan Pillay (senator)

กระทรวงแรงงาน น้ำ และการสื่อสาร
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Shaziman Abu Mansor
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Joseph Salang Gandum

กระทรวงการค้าระหว่างประเทศและอุตสาหกรรม
รัฐมนตรีว่าการ : Tan Sri Muhyiddin Yassin
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Liew Vui Keong
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Jacob Dungau Sagan

กระทรวงการเกษตรและอุตสาหกรรมพื้นฐานการเกษตร
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Mustapa Mohamed
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Rohani Abdul Karim

กระทรวงการค้าภายในประเทศ และคุ้มครองผู้บริโภค
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Shahrir Abdul Samad
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Jelaing anak Mersat

กระทรวงศึกษาธิการ
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Hishammuddin Hussein
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Dr Wee Ka Siong
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Razali Ismail

กระทรวงประชาสัมพันธ์
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Ahmad Shabery Cheek
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Tan Lian Hoe

กระทรวงความเป็นเอกภาพ วัฒนธรรม ศิลปะ และมรดก
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Mohd Shafie Apdal
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Teng Boon Soon

กระทรวงทรัพยากรมนุษย์
รัฐมนตรีว่าการ: Datuk Dr S Subramaniam
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Noraini Ahmad

กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี่ และนวัตธรรม
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Dr Maximus Ongkili
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Fadillah Yusof

กระทรวงการเคหะและการปกครองส่วนท้องถิ่น
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Ong Ka Chuan
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Robert Lau Hoi Chew
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Hamzah Zainudin

กระทรวงกลาโหม
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Seri Najib Razak
รัฐมนตรีช่วยว่าการ: Datuk Wira Abu Seman Yusop

กระทรวงพัฒนาชนบทและดินแดนสหพันธรัฐ
รัฐมนตรีว่าการ : Tan Sri Muhammad Muhd Taib
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Tan Sri Joseph Kurup
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Joseph Entulu Belaun

กระทรวงต่างประเทศ
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Seri Dr Rais Yatim
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Seri Tengku Azlan Abu Bakar

กระทรวงเยาวชนและการกีฬา
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Ismail Sabri Yaakob
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Wee Jeck Seng

กระทรวงสาธารณสุข
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Liow Tiong Lai
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Dr. Abdul Latiff Ahmad

กระทรวงการพัฒนาผู้ประกอบการและสหกรณ์
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Noh Omar
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Saifuddin Abdullah

กระทรวงพัฒนาสตรี ครอบครัว และสังคม
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Dr Ng Yen Yen
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Noriah Kasnon

กระทรวงการท่องเที่ยว
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Seri Azalina Othman Said
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Seri Sulaiman Abdul Rahman Abdul Taib

กระทรวงกิจการดินแดนสหพันธรัฐ
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Zulhasnan Rafique
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk M Saravanan

กระทรวงการอุดมศึกษา
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Seri Khaled Nordin
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Dr Hou Kok Chung
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Idris Haron

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
รัฐมนตรีว่าการ : Datuk Douglas Uggah Embas
รัฐมนตรีช่วยว่าการ : Datuk Seri Abdul Ghapur Salleh

Isnin, 18 Februari 2008

โครงสร้างของศาลอินโดเนเซีย

โดย นิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน
โครงสร้างของศาลอินโดเนเซีย
ศาลยุติธรรมประเทศอินโดเนเซียแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

1. ศาลยุติธรรมทั่วไป

กฎหมายทั่วไปของประเทศอินโดเนเซียมีพื้นฐานมาจากกฎหมายของประเทศตะวันตก นั้นคือประเทศฮอลันดา หรือ เนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นประเทศที่เคยปกครองอินโดเนเซียมาก่อน

ศาลยุติธรรมของประเทศอินโดเนเซียประกอบด้วยศาลดังต่อไปนี้

1. State Court หรือ ในภาษาอินโดเนเซียเรียกว่า Pengadilan Negeri ศาลนี้ในประเทศอินโดเนเซียตั้งอยู่ในตัวเมืองของเขตการปกครองระดับ kabupaten หรือเมืองต่างๆ ศาลนี้ตั้งกระจายทั่วประเทศ มีทั้งหมด 250 แห่ง เป็นศาลที่ดำเนินการทางคดีแพ่งและคดีอาญา ในสมัยที่อินโดเนเซียยังอยู่ภายใต้การปกครองของฮอลันดานั้น ศาลประเภทนี้เรียกว่า landraad เมื่อศาลนี้ตัดสินคดีความแล้ว คู่ความไม่พอใจในคำตัดสิน ก็สามารถอุทธรณ์คดีไปยังศาลที่เรียกว่า Pengadilan Tinggi


2. The High Court หรือ ในภาษาอินโดเนเซียเรียกว่า Pengadilan Tinggi ศาลนี้ในประเทศอินโดเนเซียตั้งอยู่กระจายทั่วประเทศ มีทั้งหมด 20 แห่ง ศาลนี้ตั้งอยู่ในเมืองเอกของจังหวัด

3. The Supreme Court หรือ ในภาษาอินโดเนเซียเรียกว่า Pengadilan Agung ศาลนี้ถือว่าเป็นศาลสูงสุดของประเทศอินโดเนเซีย ตั้งอยู่ในกรุงจาการ์ตา โดยในปี 1985 ศาลสูงสุดนี้ได้มีการเพิ่มอำนาจ สามารถตัดสินว่าคำประกาศ หรือ กฎข้อบังคับของรัฐมนตรีกระทรวงต่างๆนั้น ถูกหรือขัดกับรัฐธรรมนูญของประเทศอินโดเนเซีย (UUD 45 : Undang-Undang Indonesia 1945)หรือไม่ อย่างไร

ในปี 1998 ประเทศอินโดเนเซียได้มีการจัดตั้งศาลขึ้นมาอีกหนึ่งศาล นั้นคือศาลพาณิชย์ โดยมีชื่อเรียกว่า The Commercial Court หรือ ชื่อในภาษาอินโดเนเซียว่า Pengadilan Niaga เมื่อศาลนี้ตัดสินคดีความแล้ว ในกรณีคู่ความยังไม่พอใจก็จะอุทธรณ์ยังศาลสูงสุด หรือ The Supreme Court

ในปี 2001 มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญอินโดเนเซีย 1945 โดยมีการจัดตั้งศาลรัฐธรรมนูญ ศาลนี้มีชื่อว่า The Constitutional Court หรือเรียกเป็นภาษาอินโดเนเซียว่า Mahkamah Konstitusi

2. ศาลชารีอะห์
กฎหมายชารีอะห์ของประเทศอินโดเนเซียมีพื้นฐานมาจากหลักการกฎหมายของศาสนาอิสลาม ซึ่งประชากรส่วนใหญ่ของประเทศอินโดเนเซียนับถือศาสนาอิสลาม ศาลชารีอะห์ในประเทศอินโดเนเซียมี 2 ระดับ คือ

1. ศาลชารีอะห์ชั้นต้น หรือ Pengadilan Agama

ศาลนี้จัดตั้งขึ้นในพื้นที่ต่างๆทั่วอินโดเนเซีย เป็นศาลที่มีอยู่เคียงข้างศาลที่ชื่อว่า State Court หรือ Pengadilan Negeri ศาลนี้มีอำหนาจหน้าที่ที่เกี่ยวกับ การแต่งงาน การหย่า พินัยกรรม ทรัพย์สินมรดก การบริจาคตามหลักการศาสนาอิสลาม รวมทั้งเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์อิสลาม

2. ศาลชารีอะห์ชั้นสูง หรือ Pengadilan Agama Tinggi

ศาลนี้จัดตั้งขึ้นในพื้นที่ต่างๆทั่วอินโดเนเซีย เป็นศาลที่ตั้งอยู่ในเมืองเอกของจังหวัดในอินโดเนเซีย ดำเนินคดีความที่มีการอุทธรณ์มาจากศาลชารีอะห์ชั้นต้น หรือ Pengadilan Agama เมื่อศาลชารีอะห์ชั้นสูง หรือ Pengadilan Agama Tinggi ตัดสินคดีแล้ว คู่กรณีนั้นยังสามารถอุทธรณ์คำตัดสินของศาลดังกล่าวไปยังศาลสูงสุด (The Supreme Court )หรือ ในภาษาอินโดเนเซียเรียกว่า Pengadilan Agung

นอกจากศาลที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ในประเทศอินโดเนเซียยังมีอีกศาลที่ดำเนินการที่เกี่ยวการเป็นภัยต่อความมั่นคงของรัฐและศาลทหาร

Pengadilan Tata Usaha Negara
ศาลที่ตัดสินคดีความที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงของรัฐ กิจการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับรัฐ ศาลนี้เรียกว่า Pengadilan Tata Usaha Negara เป็นศาลที่ตั้งอยู่ในเมืองเอกของเขตปกครองระดับ kabupaten หรือ เมืองต่างๆ เมื่อศาลนี้ตัดสินคดีความแล้ว ยังสามารถอุทธรณ์ต่อยังศาลที่สูงขึ้น นั้นคือ Pengadilan Tinggi Tata Usaha Negara


ศาลทหาร
ศาลทหารในประเทศอินโดเนเซียมี 2 ประเภท คือ

ศาลทหารชั้นต้น หรือ Pengadilan Militer เป็นศาลที่อยู่ภายใต้อำนาจของศาลสูงสุด ศาลนี้เป็นศาลทหารที่ดำเนินการพิจารณาคดีความทางอาญาของทหารตั้งแต่ระดับนายร้อยเอกลงมา

ศาลทหารชั้นสูง หรือ Pengadilan Militer Tinggi ศาลนี้อยู่ภายใต้อำนาจของศาลสูงสุดเช่นกัน เป็นศาลทหารที่ดำเนินการพิจารณาคดีความทางอาญาของทหารตั้งแต่ระดับนายพันตรีขึ้นไป

กฎหมายในประเทศอินโดเนเซีย

โดย นิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน

กฎหมายอิสลามในประเทศอินโดเนเซีย

ประเทศอินโดเนเซีย เป็นประเทศที่มีประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ดังนั้นวิถีชีวิตของชาวอินโดเนเซียจึงมีความสัมพันธ์กับศาสนาอิสลาม สำหรับกฎหมายอิสลามในประเทศอินโดเนเซียนั้น ในอดีตมีการนำกฎหมายอิสลามมาใช้ โดยในอินโดเนเซียเริ่มมีการนำกฎหมายตามหลักการศาสนาอิสลามมาใช้เมื่อปี 1882 โดยฮอลันดาซึ่งขณะนั้นปกครองอินโดเนเซียได้ประกาศ Royal Decree เพื่ออนุญาตให้มีการจัดตั้งศาลศาสนา หรือที่เรียกว่า Priest Court มาใช้ในพื้นที่เกาะชวา และมาดูรา

การแต่งงานในประเทศอินโดเนเซียตามกฎหมายการแต่งงาน หรือ Marriage Law 1974 กำหนดให้ฝ่ายชายมีอายุไม่ต่ำกว่า 19 ปี ส่วนฝ่ายหญิงมีอายุไม่ต่ำกว่า 16 ปี

การแต่งงานนั้นสำหรับผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามต้องไปจดทะเบียนที่ Department of Religious Affair หรือ กระทรวงการศาสนา ส่วนผู่ที่ไม่ได้นับถือศาสนาอิสลามต้องไปจดทะเบียนที่ Department of Internal Affair หรือ กระทรวงมหาดไทย

บทบาทของกฎหมายอิสลามในประเทศอินโดเนเซียนั้น นอกจากที่มีการจัดตั้งศาลชารีอะห์แล้ว ยังสามารถเห็นได้อย่างชัดเจนในจังหวัดนังโกรอาเจะห์ดารุสสาลาม จังหวัดนี้เดิมมีชื่อว่า จังหวัดเขตปกครองพิเศษอาเจะห์ ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็นจังหวัดนังโกรอาเจะห์ดารุสสาลาม

กฎหมายในจังหวัดนังโกรอาเจะห์ดารุสสาลาม

ปี 2002 มีการประกาศกฎหมายว่าด้วยศาลชารีอะห์

ปี 2003 มีการประกาศเกี่ยวกับกฎหมายการพนัน (Perjudian)

ปี 2003 มีการประกาศเกี่ยวกับกฎหมาย Khalwat

ปี 2004 มีการประกาศเกี่ยวกับกฎหมายซากาต (Pengelolaan Zakat)

ปี 2004 มีการประกาศเกี่ยวกับกฎหมายการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดนังโกรอาเจะห์ดารุสสาลาม

กฎหมายการปกครองอาเจะห์ (Undang-Undang Pemerintahan Aceh) เป็นกฎหมายใหม่ที่นำมาใช้ในจังหวัดนังโกรอาเจะห์ดารุสสาลาม แทนกฎหมายการปกครองพิเศษ (Undang-Undang Otonami Khusus) ซึ่งเป็นกฎมายการปกครองอาเจะห์นี้มีผลมาจากการเจรจายุติสงครามระหว่างรัฐบาลอินโดเนเซียกับขบวนการอาเจะห์เสรี หรือ Gerakan Aceh Merdeka (GAM) การเจรจาครั้งนั้นดำเนินการที่กรุงเฮลซินกิ ประเทศนอร์เวย์ สำหรับกฎหมาย การปกครองอาเจะห์นี้ได้ผ่านการลงมติของสภาผู้แทนราษฎร หรือ Dewan Perwakilan Rakyat (DPR) เมื่อ 11 กรกฎาคม 2006

เนื้อหาสำคัญของกฎมายการปกครองอาเจะห์ คือ

- มีการนำหลักการกฎหมายอิสลาม หรือ กฎหมายชารีอะห์มาใช้ในจังหวัดนังโกรอาเจะห์ดารุสสาลาม

- น้ำมันและแก๊ส ซึ่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติของจังหวัดนังโกรอาเจะห์ดารุสสาลามนั้นรัฐบาลอินโดเนเซียต้องให้ผู้ปกครองจังหวัดนังโกรอาเจะห์ดารุสสาลามร่วมรับผิดชอบด้วย

- มีการอนุญาตให้สามารถจัดตั้งพรรคการเมืองท้องถิ่นในจังหวัดนังโกรอาเจะห์ดารุสสาลามได้ เป็นพรรคการเมืองที่ดำเนินกิจกรรมทางการเมืองเฉพาะภายในจังหวัดนังโกรอาเจะห์ดารุสสาลาม ด้วยกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งพรรคการเมืองของอินโดเนเซียนั้นมีเงื่อนไขว่าพรรคการเมืองต้องมีสาขาพรรคในท้องถิ่นต่างๆทั่วประเทศ

Isnin, 14 Januari 2008

ระบบศาลยุติธรรมของมาเลเซีย

โดย นิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน
ระบบศาลยุติธรรมของมาเลเซีย

ศาลสหพันธรัฐ (Mahkamah Persekutuan)
องค์ประกอบของศาลสหพันธรัฐนั้นมี[1] 1. ประธานศาลสหพันธรัฐ เรียกว่าหัวหน้าผู้พิพากษาศาลสหพันธรัฐ(Ketua Hakim Negara Mahkamah Persekutuan ) และประธานศาลอุทธรณ์ 2. หัวหน้าผู้พิพากษา(Hakim Besar)ของศาลชั้นสูงแห่งมาลายา และศาลชั้นสูงแห่งบอร์เนียว 3. ผู้พิพากษาจำนวน 7 ท่าน ในการดำเนินคดีนั้นศาลฎีกาจะประกอบด้วยผู้พิพากษาจำนวน 3 ท่านโดยได้รับการเลือกจากประธานศาลสหพันธรัฐ แต่ในกรณีที่เป็นคดีสำคัญทางศาลสหพันธรัฐจะมีผู้พิพากษาจำนวน 5 ท่าน

ศาลชั้นสูง (Mahkamah Tinggi)
ศาลชั้นสูงแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ 1. ศาลชั้นสูงมาลายา 2. ศาลชั้นสูงบอร์เนียว (รัฐซาบะห์และรัฐซาราวัค) องค์ประกอบของศาลสูงนั้นมีดังนี้[2] 1. หัวหน้าผู้พิพากษา ( Hakim Besar ) จำนวน 2 ท่าน โดย 1 ท่าน มาจากแหลมมลายู (Malaya ) และอีก 1 ท่านมาจากรัฐซาบาห์ และรัฐซาราวัค 2. ผู้พิพากษาจำนวน35 ท่านโดย 8 ท่าน มาจากรัฐซาบะห์และรัฐซาราวัคและจำนวน 27 ท่านมาจากแหลมมลายู ( Malaya ) ศาลสูงมีอำนาจที่ไม่จำกัด แต่ส่วนใหญ่แล้วคดีที่อยู่นอกเหนืออำนาจของศาลต้นเท่านั้นที่จะไปพิจารณาในศาลสูง และศาลสูงจะรับพิจารณาคดีที่มีการอุทธรณ์จากการตัดสินของศาลชั้นต้น

Mahkamah Rendah ( ศาลชั้นต้น )[3]
ศาลชั้นต้นในแหลมมลายูประกอบด้วย Mahkamah Sesyen, Mahkamah Majistret, Mahkamah Juvenile และ Mahkamah Penghulu

Mahkamah Sesyen
เป็นศาลที่สูงที่สุดในศาลชั้นต้น มีอำนาจในการตัดสินคดียกเว้นคดีที่มีการลงโทษประหารชีวิต ผู้พิพากษาสามารถลงโทษจำเลยได้ยกเว้นแต่ลงโทษประหารชีวิต ในคดีแพ่งมีอำนาจตัดสินในกรณีไม่เกิน100,000ริงกิต ยกเว้นกรณีอหังสาริมทรัพย์, มรดก, การหย่า, การล้มละลาย

Mahkamah Majistret
เป็นศาลที่ตัดสินเกี่ยวกับคดีทั่วไปและคดีอาชญากรรม ผู้พิพากษาชั้น2 สามารถตัดสินคดีในกรณีลงโทษไม่เกิน 12 เดือน ในคดีแพ่งมีอำนาจตัดสินในกรณีไม่เกิน 3,000 ริงกิต ส่วนผู้พิพากษาชั้น1 ของMahkamah Majistretมีอำนาจที่กว้างขวางโดยสามารถลงโทษในกรณีไม่เกิน 10 ปี ในกรณีคดีแพ่งมีอำนาจมีอำนาจตัดสินในกรณีไม่เกิน25,000ริงกิต Mahkamah juvenile เป็นศาลเด็กและเยาวชนที่ผู้พิพากษาชั้น 1 สามารถพิพากษาความผิดได้ทุกประเภทลงโทษได้ยกเว้นประหารชีวิต และผู้พิพากษาต้องมีนักจิตวิทยาจำนวน 2 ท่าน การพิพากษาในศาลนี้จะทำแบบปิดไม่อนุญาตให้สาธารณชนสามารถเข้าฟังการลงโทษผู้ผิดได้ หรือที่เรียกว่า In Camera การลงโทษคือจะส่งไปยังสถานฝึกอบรม หรือ ปล่อยผู้กระทำความผิด

Mahkamah Penghulu เป็นศาลที่มีผู้ใหญ่บ้านเป็นหัวหน้า Mahkamah Penghulu ถือเป็นศาลที่ต่ำที่สุดในบรรดาศาลชั้นต้น ส่วนใหญ่มักไม่ต้องพิจารณาคดี เพราะผู้ใหญ่บ้านสามารถเกลี้ยกล่อมคู่กรณีได้ ศาลชนิดนี้สามารถพิจารณาคดีที่มีความขัดแย้งในวงเงินไม่เกิน 50 ริงกิต และปรับโทษได้ไม่เกิน 25 ริงกิต ศาลชั้นต้นในรัฐซาบะห์และรัฐซาราวัคนั้น เมื่อมีการขยาย พ.ร.บ.ศาลชั้นต้นปี 1948 ไปยังรัฐซาบะห์และรัฐซาราวัคเมื่อ 1 มิถุนายน 1981 จึงทำให้มีการจัดตั้ง Mahkamah Juvenile และ Mahkamah Sesyen ขึ้นในรัฐทั้งสอง โดยมีอำนาจหน้าที่เหมือนกับในแหลมมลายู โดยทั้งสองศาลดังกล่าวในรัฐซาบาห์และรัฐซาราวัคมีผู้พิพากษาชั้น 1และ 2 เช่นกัน ส่วนศาลที่เรียกว่า Mahkamah Penghulu นั้นในรัฐซาบะห์และรัฐซาราวัคไม่มี แต่ในรัฐทั้งสองจะมีศาลชนเผ่าที่เรียกว่า Mahkamah Adat หรือ Mahkamah Anak Negeri[4]

[1] International Law Book Services.2005.Perlembagaan Persekutuan.Petaling Jaya. หน้า167-168

[2] International Law Book Services . แหล่งเดิม หน้า 169-171

[3] Fauziah Shafii & Ruslan Zainuddin.2000.Sejarah Malaysia. Selangor: Fajar Bakti หน้า 500-505.

[4] นิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน.2548b.เอกสารบรรยายวิชาระบบกฏหมายในภูมิภาคมลายู.แผนกวิชามลายูศึกษา ภาควิชาภาษา ตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปัตตานี

Rabu, 2 Januari 2008

Brunei Investment Agency : องค์กรทางเศรษฐกิจของประเทศบรูไน

โดย นิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน

ในเดือนมิถุนายน 1983 สุลต่านบรูไนได้นำเงินลงทุนประมาณ 3 พันล้านดอลลาร์บรูไน หรือประมาณครึ่งหนึ่งของเงินลงทุนทั้งหมดของบรูไนในต่างประเทศ ที่ปกติแล้วมีการลงทุนผ่านองค์กรของอังกฤษที่เรียกว่า agents of the British crown มาลงทุนเอง โดยมีการจัดตั้งองค์กรการลงทุนของตนเองเรียกว่า The Brunei Investment Agency โดยองค์กรนี้มีชื่อย่อว่า BIA 

กองทุน Brunei Investment Agency กับการลงทุนในประเทศไทย
- ในวันที่ 27 สิงหาคม 2545 ไทยและบรูไนได้มีการลงนามในบันทึกความเข้าใจได้แก่ สัญญาระหว่าง Brunei Investment Agency (BIA) กับ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข) และสัญญาระหว่าง Brunei Investment Agency (BIA) กับ the Biz Dimesion Co. Ltd.
- เมื่อ 16 มกราคม 2546 Brunei Investment Agency (BIA) และกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข) ได้ร่วมลงนามในสัญญาจัดตั้งกองทุนร่วมลงทุน (Matching Fund) ในชื่อกองทุนไทยทวีทุน (Thailand Prosperity Fund – TPF) โดยมีวงเงิน 200 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และสามารถเพิ่มวงเงินได้ไม่เกิน 500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ทั้งนี้ กบข. ลงทุนประมาณ 66 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือร้อยละ 33 ของวงเงินทั้งหมด และ BIA ลงทุนประมาณ 134 ดอลลาร์สหรัฐ หรือร้อยละ 67 ของวงเงินทั้งหมด
- กองทุนไทยทวีทุนมีระยะเวลาลงทุน 8 ปี และต่ออายุได้อีก 2 ปี มีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินการลงทุนทั้งในและนอกตลาดหลักทรัพย์ โดยเฉพาะหลักทรัพย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ และเสนอขายแบบเฉพาะเจาะจง (Private Placement) รวมทั้งหลักทรัพย์ที่มีแผนจะเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ทั้งบริษัทเอกชนและรัฐวิสาหกิจที่กำลังจะแปรรูป ทั้งนี้ กองทุนไทยทวีทุนได้แต่งตั้งบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม ING (ประเทศไทย) จำกัดเป็นผู้จัดการกองทุน


- นอกจากนั้น BIA และ กบข. ยังได้ร่วมลงทุน (joint venture) จัดตั้งบริษัท Thai Prosperity Advisory Company Limited (TPA) เพื่อเป็นบริษัทที่ปรึกษาทางเทคนิคให้กับกองทุนไทยทวีทุน โดย กบข. และBIA มีสัดส่วนการลงทุนร้อยละ 59 และ 41 ตามลำดับ กองทุนไทยทวีทุนได้เปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการเมื่อ 18 มีนาคม 2546 และได้เข้าร่วมทุนกับธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยโดยถือหุ้นร้อยละ 15 คิดเป็นจำนวนเงินประมาณ 2.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (104.53 ล้านบาท) รวมทั้งร่วมทุนกับบริษัทควอลิตี้เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) คิดเป็นจำนวนเงิน ประมาณ 19 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (780 ล้านบาท) รวมมูลค่าการลงทุนของกองทุนทั้งสิ้นประมาณ 21.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (885 ล้านบาท) ทั้งนี้ กองทุนยังคงอยู่ระหว่างการจัดหาบริษัทอื่น ๆ เพื่อเข้าร่วมลงทุนเพิ่มเติม


-ระหว่าง 26 - 28 สิงหาคม 2545 ธนาคารอิสลามแห่งบรูไน (Islamic Bank of Brunei Berhad : IBB) ได้ตกลงร่วมลงทุนในธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยตามข้อเสนอของไทย โดยถือหุ้นเป็นสัดส่วนร้อยละ 15
ของจำนวนหุ้นทั้งหมด คิดเป็นเงินทั้งสิ้น 104.53 ล้านบาท นอกจากนี้ กองทุนไทยทวี ทุนถือหุ้นอีกร้อยละ 15 เช่นกัน ขณะนี้ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทยได้เปิด ดำเนินการแล้วเมื่อ 12 มิถุนายน 2546
วิกฤตการณ์กองทุน The Brunei Investment Agency
เมื่อ Pengeran Jefri Bolkiah ได้รับแต่งตั้งเป็นประธานของ The Brunei Investment Agency แล้ว นอกจากการบริหารกองทุนของประเทศบรูไนแล้ว ทาง Pengeran Jefri Bolkiah ได้ดำเนินธุรกิจในกิจการของตนเอง โดย Pengeran Jefri Bolkiah ได้จัดตั้งบริษัทของตนเองขึ้นโดยใช้ชื่อว่า Amedeo Development Corporation เพื่อดำเนินการลงทุนทางธุรกิจในกิจการที่ไม่ใช่น้ำมัน 
ปี 2000 – รัฐบาลบรูไนฟ้องศาลว่า Pengeran Jefri Bolkiah ประธานกองทุน The Brunei Investment Agency มีการยักยอกทรัพย์สินเพื่อนำเงินไปซื้อทรัพย์สินภายในเวลา 10 ปี เป็นจำนวนเงินถึง 15.4 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
ปี 2001 – มีการประมูลขายทรัพย์สินของ Pengeran Jefri Bolkiah ในประเทศบรูไนมากกว่า 10,000 ชิ้น
ปี 2006 สุลต่านบรูไนให้คำมั่นสัญญาว่าจะยกฟ้องคำกล่าวหาต่อ Pengeran Jefri Bolkiah
ปี 2007 เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน ศาลสูงบรูไนได้ตัดสินให้ Pengeran Jefri Bolkiah อดีตรัฐมนตรีการคลังประเทศบรูไน และประธานกองทุน Brunei Investment Agency คืนทรัพย์สินที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ เครื่องประดับ และเงินสด คืนแก่รัฐบาลบรูไน โดย British Privy Council ซึ่งถือเป็นศาลอุธรณ์สุงสุดของบรูไนในฐานะอดีตอาณานิคมของอังกฤษ เป็นผู้ประกาศการตัดสินครั้งนี้ และ British Privy Council ให้ Pengeran Jefri Bolkiah ปฏิบัติตามการเจรจานอกศาลกับรัฐบาลบรไนเมื่อเดือนพฤษภาคม 2543 ทรัพย์สินที่ต้องคืนแก่รัฐบาลบรูไนประกอบด้วย Hotel New York Palace และ Hotel Bel-Air, Los Angeles ในสหรัฐ, 3-5 Place Vendome ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส, St. John’s Lodge ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ และบ้านในประเทศสิงคโปร์ ปัจจุบัน Pengeran Jefri Bolkiah ลี้ภัยอาศัยอยู่ในประเทศอังกฤษและฝรั่งเศส


องค์กรที่จัดตั้งขึ้นใหม่นี้มีเจ้าชายเจฟรีโบลเกียะห์ (Pengeran Jefri Bolkiah) ซึ่งเป็นพระอนุชาของสุลต่านฮัสซันนัลโบลเกียะห์ ขณะนั้นเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็นประธานของ The Brunei Investment Agency สำหรับการบริหารการลงทุนของประเทศบรูไนนั้นมีการลงทุนภายในและต่างประเทศต่างประเทศ 


การลงทุนในต่างประเทศของ The Brunei Investment Agency (BIA) นั้นมีการลงทุนสหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ยุโรป และกลุ่มประเทศอาเซี่ยน วัตถุประสงค์การจัดตั้งกองทุน-เพื่อบริหารเงินลงทุนของรัฐบาลในประเทศบรูไนและต่างประเทศ-เพื่อบริหารผลกำไร ผลประโยชน์ และสิ่งตอบแทนอื่นๆของรัฐบาลบรูไน


เมื่อช่วงที่ภูมิภาคอเชียประสบกับวิกฤตการเงินในปี 2540 นั้นปรากฏว่าทางบริษัท Amedeo Development Corporation ก็ได้ประสบปัญหาด้วย สำหรับการดำเนินกิจการของบริษัท Amedeo Development Corporation นั้นส่วนหนึ่งเป็นการนำเงินการลงทุนจาก The Brunei Investment Agency มีการนำเงินจากกองทุน The Brunei Investment Agency ถ่ายเทสู่ บริษัท Amedeo Development Corporation ซึ่งการกระทำดังกล่าวในเวลาต่อมาถือว่า Pengeran Jefri Bolkiah ได้ยักยอกทรัพย์สินของประเทศบรูไน 


ซึ่งบางส่วนมีความเห็นว่าในความเป็นจริงแล้ว การประสบความล้มเหลวของ บริษัท Amedeo Development Corporation เกิดจากการบริหารของ Pengeran Jefri Bolkiah มากกว่าที่จะมีสาเหตุมาจากวิกฤตทางเศรษฐกิจในช่วงดังกล่าว ด้วย Pengeran Jefri Bolkiah มีการใช้จ่ายเงินอย่างไม่เป็นระบบ

ประเทศบรูไนดารุสซาลาม

สรุปและเรียบเรียง จาก เว็บไซต์ กระทรวงต่างประเทศ

ประเทศบรูไนมีการปกครองระบอบ Constitutional Sultanate โดยมีองค์สุลตานและนายกรัฐมนตรี (Sultan and Prime Minister) เป็นทั้งองค์พระประมุขและหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศ คือ Sultan Haji Hassanal Bolkiah Muizzadin Waddaulah มีนครหลวงชื่อ กรุงบันดาร์ สรี บือกาวัน (Bandar Seri Begawan) ซึ่งเป็นทั้งนครที่เป็นศูนย์กลางทางธุรกิจด้วย ได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักรเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2527 ระบบกฎหมายของประเทศมีพื้นฐานมาจากกฎหมายจารีตประเพณีอังกฤษ และกฎหมายอิสลาม

ประเทศบรูไนตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศไทย เวลาท้องถิ่นในประเทศบรูไนเร็วกว่าประเทศไทย 1 ชั่วโมง จัดได้ว่าเป็นประเทศขนาดเล็กเพราะมีพื้นที่เพียง 2,226 ตารางไมล์ และมีประชากรเพียงประมาณ 300,000 คน แต่มีเศรษฐกิจที่มั่งคั่ง โดยเศรษฐกิจของประเทศขึ้นอยู่กับการผสมผสานกันระหว่างการลงทุนทั้งในประเทศและจากต่างประเทศ กฎข้อบังคับของรัฐบาล มาตรการต่างๆทางด้านสวัสดิการสังคมและขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่นในระดับหมู่บ้าน ทั้งนี้ รายได้ของประเทศนี้โดยส่วนใหญ่กว่าครึ่งหนึ่งของ GDP มาจากการส่งออกน้ำมันปิโตรเลียมดิบ และแก๊สธรรมชาติ ซึ่งเมื่อรวมกับรายได้จากเงินลงทุนทางตรงจากต่างประเทศก็ทำให้บรูไนมีอัตรารายได้ต่อหัวที่สูงกว่าอัตราเฉลี่ยในประเทศอื่นๆในกลุ่มประเทศโลกที่สามมาก ทำให้รัฐบาลสามารถจัดการให้บริการสาธารณูปโภคและสินค้า/บริการต่างๆที่จำเป็นแก่ประชาชนได้อย่างทั่วถึง เป็นต้นว่า การให้การอุดหนุนในเรื่องอาหารและที่อยู่อาศัย และการให้บริการสาธารณสุขในทุกๆด้านอย่างทั่วถึง

ภาคการผลิตของประเทศประกอบด้วย ภาคการอุตสาหกรรมที่สำคัญของประเทศได้แก่ อุตสาหกรรมขุดเจาะหาน้ำมันปิโตรเลียม อุตสาหกรรมกลั่นน้ำมัน อุตสาหกรรมผลิตแก๊สธรรมชาติ และอุตสาหกรรมการก่อสร้าง และภาคการเกษตรกรรมที่สำคัญของประเทศได้แก่ การผลิตข้าวเจ้า มันสำปะหลัง กล้วย ในปัจจุบัน รัฐบาลมีนโยบายพื้นฐานในอันที่จะเบนการพึ่งพิงทางเศรษฐกิจของประเทศออกจากทรัพยากรน้ำมันและแก๊สธรรมชาติไปสู่ภาคการผลิตอื่นๆให้มากขึ้น

ทั้งนี้ จากสถานการณ์ราคาน้ำดับดิบของโลกตกต่ำ ประกอบกับวิกฤติทางเศรษฐกิจของภูมิภาคอาเซียน ส่งผลกระทบให้ธุรกิจในประเทศหลายแห่งต้องปิดตัวลง โดยเฉพาะธุรกิจในอุตสาหกรรมการก่อสร้างหดตัวลงถึงร้อยละ 70 โดยมีการปลดคนงานต่างชาติออกเป็นจำนวนมากกว่า 80,000 คน โดยเฉพาะคนงานไทยถูกปลดออกถึงประมาณ 40,000 คน ทำให้เป็นที่คาดหมายว่าบรูไนจะมีระดับความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในปี 1999 ไม่มากนักและจะมีอุปสงค์รวมภายในประเทศหดตัวลง โดยเฉพาะอุปสงค์สำหรับสินค้าในกลุ่มวัสดุการก่อสร้าง อุปกรณ์เครื่องใช้สำหรับติดตั้งกับอาคารสถานที่ และอาหาร เป็นต้น

สภาพเศรษฐกิจ
บรูไนมีนโยบายการค้าเสรี ส่งเสริมการลงทุนภายในประเทศ การท่องเที่ยว และส่งเสริมการพึ่งตนเองโดยการผลิตสินค้าทดแทนการนำเข้า เช่น สินค้าประเภทอาหาร เป็นต้น

นโยบายการนำเข้า
แม้ว่าจะมีนโยบายการค้าเสรี แต่การนำเข้าภายใต้หลักเกณฑ์การควบคุมการนำเข้าสินค้าบางประเภทเช่น ข้าว น้ำตาล ปูนชิเมนต์ อาหาร เนื้อสัตว์ เช่น เนื้อไก่ เนื้อวัว ผู้นำเข้าสินค้าจะต้องขออนุญาตก่อน หรือนำเข้าได้ตามโควต้าที่กำหนด

ห้ามนำเข้าเครื่องดื่มที่ผสมแอลกอฮอล์

คู่แข่งขันทางการค้า
คู่ค้าที่สำคัญ
ได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเชีย สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ญี่ปุ่น ไทย ฮ่องกง ออสเตรเลีย

อินโดนีเชีย เยอรมัน อิตาลี จีน เกาหลีใต้ และไต้หวัน ในปี 2541 บรูไนนำเข้าสินค้าจากทั่วโลกเป็นมูลค่า 726.1 ล้านเหรียญสหรัฐ สินค้าเข้าสำคัญ ได้แก่ ชิ้นส่วนเครื่องบินและเรือบรรทุกสินค้าขนาดเบา เหล็ก/เหล็กกล้าใช้ในการก่อสร้าง เครื่องมือในการเจาะ แยง ตอกและทำสลักเกลียว ข้าวหอม วัสดุสิ่งทอ รถยนต์ขนาด 1500 – 2000 ซีซี ผ้าฝ้าย สายไฟฟ้า สายไฟชนิด optical fibre โดยมีแหล่งนำเข้าสำคัญคือ สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น ฮ่องกง สิงคโปร์ สาธารณรัฐเกาหลี ออสเตรเลีย

คู่แข่งจากอาเซียน
ได้แก่ สิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ซึ่งมีข้อได้เปรียบไทยดังนี้

- สิงคโปร์จะได้เปรียบไทยในด้านความสะดวก รวดเร็วในการนำเข้าสินค้า และสามารถจะเสนอขายสินค้าที่มีหลากหลายรายการกว่า ในปริมาณการสั่งซื้อสินค้าแต่ละรายการที่น้อยกว่า และในราคาที่สามารถแข่งขันกับไทยได้ รวมทั้งระยะทางขนส่งสินค้าที่ใกล้กว่าและการมีเที่ยวบินและเรือบรรทุกสินค้าติดต่อขนส่งสินค้ากับบรูไนโดยมีระวางบรรทุกสินค้าที่มากและถี่กว่า

- มาเลเซียจะได้เปรียบไทยกรณีสินค้าอาหาร ในด้านความเชื่อถือสินค้าอาหารฮาลาลที่นำเข้าจากมาเลเซีย ซึ่งเป็นประเทศมุสลิมและการที่บรูไนไปร่วมลงทุนในอุตสาหกรรมอาหารในประเทศมาเลเซียไว้มาก นอกจากนี้ ในกรณีของสินค้าอื่นๆโดยทั่วไป การที่บรูไนมีพรมแดนติดกับรัฐซาราวัคและซาบาร์ของมาเลเซีย และมีประชากรที่มีเชื้อสายเดียวกันใช้ภาษามาเลย์เหมือนกัน ยังทำให้มาเลเซียมีความได้เปรียบในด้าน การค้าชายแดน ความสะดวกในการติดต่อธุรกิจ ความสะดวกในการนำเข้าสินค้าและระยะทางขนส่งสินค้าที่ใกล้กว่า รวมทั้ง ความได้เปรียบในด้านรูปแบบสินค้าที่ผลิตเพื่อตอบสนองรสนิยมของผู้บริโภคที่คล้ายคลึงกัน

- อินโดนีเซียมีความได้เปรียบในแง่ราคาสินค้า ระยะทางการขนส่ง ตลอดจน ภาษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี และรสนิยมผู้บริโภคที่คล้ายคลึงกัน

- สำหรับประเทศไทยมีความได้เปรียบประเทศคู่แข่งขันเหล่านี้ในแง่คุณภาพของสินค้า เช่น สินค้าข้าว น้ำตาล วัสดุก่อสร้าง เครื่องปรับอากาศและชิ้นส่วน อาหาร ผัก ผลไม้ และได้เปรียบในแง่รูปแบบของสินค้าที่ได้รับความนิยมจากตลาดมากกว่า เช่น เครื่องสุขภัณฑ์เซรามิค ผลิตภัณฑ์พลาสติก และได้เปรียบในความเป็นฐานการผลิตที่สำคัญของบริษัทแม่ในต่างประเทศ เช่น สินค้ารถยนต์บางยี่ห้อบางรุ่น เป็นต้น นอกจากนี้ ไทยยังมีความได้เปรียบในด้านทักษะและค่าจ้าง/ค่าบริการของแรงงานไทยในประเทศบรูไน โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมการก่อสร้าง แต่เป็นที่น่าเสียดายว่าอุตสาหกรรมการก่อสร้างในประเทศบรูไนได้หดตัวลงอย่างมาก

สินค้าส่งออก/นำเข้าสำคัญ
- การส่งออก ในปี 1996 บรูไนมีมูลค่าการส่งออกทั้งสิ้น 2.62 พันล้านเหรียญสหรัฐ สินค้าออกสำคัญได้แก่ น้ำมันดิบ แก๊สธรรมชาติ และผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ประเทศปลายทางการส่งออกที่สำคัญได้แก่ กลุ่มอาเซียน (ร้อยละ 31) ญี่ปุ่น (ร้อยละ 27) สาธารณรัฐเกาหลี (ร้อยละ 26) สหราชอาณาจักร และไต้หวัน

- การนำเข้า ในปี 1996 บรูไนนำเข้าสินค้าเป็นมูลค่าทั้งสิ้น 2.65 พันล้านเหรียญสหรัฐ สินค้าเข้าที่สำคัญได้แก่ อุปกรณ์สำหรับเครื่องจักรและการขนส่ง สินค้าอุตสาหกรรม อาหาร และเคมีภัณฑ์ ประเทศแหล่งนำเข้าสำคัญได้แก่ (สถิติตัวเลขประมาณการปี 1994) สิงคโปร์ (ร้อยละ 29) สหราชอาณาจักร (ร้อยละ 19) สหรัฐอเมริกา (ร้อยละ 13) มาเลเซีย (ร้อยละ 9) และญี่ปุ่น (ร้อยละ 5)

การค้ากับประเทศไทย
ในปี 2541 บรูไนและไทยมีปริมาตรการค้ารวมกันทั้งสิ้น 73.2 ล้านเหรียญสหรัฐ บรูไนนำเข้าสินค้าจากไทยเป็นมูลค่า 51.3 ล้านเหรียญสหรัฐ ส่งออกสินค้ามาประเทศไทยเป็นมูลค่า 22 ล้านเหรียญสหรัฐ ไทยเป็นฝ่ายเกินดุลการค้าเป็นมูลค่า 29.3 ล้านเหรียญสหรัฐ

ในช่วง มกราคม-กันยายน 2542 ทั้งสองประเทศมีปริมาตรการค้ารวมกันทั้งสิ้น 107.9 ล้านเหรียญสหรัฐ บรูไนนำเข้าสินค้าจากไทยเป็นมูลค่า 31.2 ล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 0.1 ของมูลค่าการส่งออกสินค้าทั้งหมดของไทย ลดลงจากช่วงระยะเวลาเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 19.3 ส่งออกสินค้ามาประเทศไทยเป็นมูลค่า 76.7 ล้านเหรียญสหรัฐ ไทยเป็นฝ่ายขาดดุลการค้าเป็นมูลค่า 45.5 ล้านเหรียญสหรัฐ ทั้งนี้ โครงสร้างการส่งออกสินค้าของไทยไปยังบรูไนประกอบด้วยสินค้าเกษตรกรรม ร้อยละ 32.9 สินค้าอุตสาหกรรมการเกษตร ร้อยละ 11.5 สินค้าอุตสาหกรรม ร้อยละ 37.9 สินค้าแร่และเชื้อเพลิง ร้อยละ 1.7 และสินค้าอื่นๆ ร้อยละ 16 รายการสินค้าออกที่สำคัญของไทยไปยังตลาดบรูไน ได้แก่ ข้าว มูลค่า 8.7 ล้านเหรียญสหรัฐ ปูนซีเมนต์ มูลค่า 2.8 ล้านเหรียญสหรัฐ ยานพาหนะ อุปกรณ์และส่วนประกอบ มูลค่า 2.1 ล้านเหรียญสหรัฐ น้ำตาลทราย มูลค่า 1.6 ล้านเหรียญสหรัฐ ผลไม้สดแช่เย็นและแช่แข็ง 0.9 ล้านเหรียญสหรัฐ เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ มูลค่า 0.8 ล้านเหรียญสหรัฐ ผลิตภัณฑ์เซรามิค มูลค่า 0.7 ล้านเหรียญสหรัฐ เสื้อผ้าสำเร็จรูป มูลค่า 0.5 ล้านเหรียญสหรัฐ ผลิตภัณฑ์พลาสติก มูลค่า 0.5 ล้านเหรียญสหรัฐ แก้วและกระจก มูลค่า 0.4 ล้านเหรียญสหรัฐ เป็นต้น ส่วนสินค้ารายการสำคัญที่ไทยนำเข้าจากบรูไนได้แก่ น้ำมันดิบ ส่วนประกอบเครื่องรับ-ส่งวิทยุ โทรศัพท์ โทรเลขและโทรทัศน์ หนังดิบและหนังฟอก ไม้ซุง ไม้แปรรูปและไม้อื่นๆ เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ เป็นต้น

สินค้าไทยที่มีศักยภาพในตลาดสินค้านำเข้าบรูไน ได้แก่ ข้าว น้ำตาลทราย ยานพาหนะ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ผลไม้สดแช่เย็นและแช่แข็ง เสื้อผ้าสำเร็จรูป เครื่องสำอาง สบู่และผลิตภัณฑ์รักษาผิว

สินค้าที่บรูไนนำเข้าจากไทยมากแต่ในปัจจุบันกำลังประสบปัญหาที่ทำให้การนำเข้าลดลงแต่มีโอกาศที่จะนำเข้าเพิ่มขึ้นเช่นเดิมหากปัญหาที่เกิดขึ้นคลี่คลาย ได้แก่ ปูนซีเมนต์ เครื่องปรับอากาศ เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ ซึ่งมีปัญหาการก่อสร้างอาคารบ้านเรือนในบรูไนหดตัวลงประมาณร้อยละ 70 ตามสภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจของภูมิภาค จนกระทั่งบริษัท AMEDEO ซึ่งดำเนินธุรกิจก่อสร้างรายใหญ่ที่สุดของบรูไนล้มละลายไปในที่สุด

ในกลุ่มสินค้านำเข้ารายการสำคัญ 10 รายการแรกของบรูไน ปรากฎว่าโดยส่วนใหญ่มีการนำเข้าจากไทยเพียงเล็กน้อย ยกเว้นสินค้าบางรายการ ได้แก่ รถยนต์ขนาด 1,500 – 2,000 ซีซี วัสดุสิ่งทอ และวัสดุโครงสร้างเหล็ก/เหล็กกล้า ที่พอมีศักยภาพในตลาดนำเข้าของบรูไน

สินค้ารายการสำคัญที่นำเข้าจากไทยรายการอื่นๆ นอกเหนือจากที่กล่าวข้างต้น ได้แก่ ยารักษาโรค รถยนต์ขนาด 1,000 – 1,500 ซีซี อาหารสัตว์ cement clinkers ของเล่น ผลิตภัณฑ์พลาสติก ท่อสเตนเลส สตีล ท่อเหล็กหรือโลหะอื่นๆ กระเบื้องปูพื้นเซรามิค เฟอร์นิเจอร์เหล็ก เกลือ ชิ้นส่วนเครื่องปรับอากาศ เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร/เครื่องครัวที่ทำจากพลาสติก

ข้อจำกัดในทางการค้าที่สำคัญคือ ข้อบังคับเกี่ยวกับการกำหนดสินค้าอาหารฮาลาล ซึ่งบรูไนค่อนข้างเคร่งคัด โดยเฉพาะเนื้อโค กระบือ แพะ แกะ ไก่ ต้องเป็นสินค้าฮาลาล ซึ่งบรูไนจะต้องไปตรวจโรงงานผลิต กรรมวิธีการผลิต การเก็บรักษา ฯลฯ และเมื่อให้การรับรองแล้ว จึงจะส่งสินค้าเข้าบรูไนได้ ถ้ายังไม่รับรอง แม้องค์การทางศาสนาอิสลามในประเทศผู้ส่งออกนั้นๆจะให้การรับรองแล้วก็ตาม ก็ยังไม่อาจส่งเข้าไปจำหน่ายในบรูไนได้ ทั้งนี้ หน่วยงานที่มีหน้าที่รับผิดชอบ คือ กระทรวงศาสนา และกรมเกษตร Ministry of Industry and Primary Resources


สินค้าที่ห้ามนำเข้า (Prohibition)
ได้แก่ สินค้าที่ขัดกับข้อกำหนดฮาลาล ได้แก่ เนื้อไก่สด/แช่แข็ง(ที่ไม่ได้เชือดโดยชาวมุสลิม) สินค้าที่ขัดกับประเพณี และขนบธรรมเนียมอันดีงาม ได้แก่ ภาพและสิ่งพิมพ์ลามกอนาจาร เป็นต้น สินค้าที่ขัดกับหลักข้อปฏิบัติของศาสนาอิสลาม เช่น เครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ และสินค้าที่ขัดกับกฎหมายระหว่างประเทศต่างๆ เช่น กฎหมายที่ให้ความคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา เช่น สินค้าปลอม เป็นต้น รวมทั้งสินค้าที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานด้านสุขอนามัย

การเดินทางเข้าประเทศ
โดยทั่วไปต้องทำวีซ่าก่อนเดินทาง แต่สำหรับประชาชนของประเทศในกลุ่มอาเซียนสามารถทำวีซ่าที่จุดตรวจคนเข้าเมืองในประเทศบรูไนได้ สิทธิตามข้อตกลงของกลุ่มอาเซียน มีระยะเวลาอยู่ในบรูไนได้ 2 สัปดาห์ แต่ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่บรูไนบางคนจะถือหลักพิจารณาดังนี้

(1) ให้อยู่เพียงที่ระบุวันกลับในตั๋วเครื่องบิน

(2) ด้องแสดงเงินสด (เหรียญบรูไน หรือสิงคโปร์) โดยจะให้วีซ่า 1 วันต่อเงิน 100 เหรียญ


กรณีดังกล่าวจึงสร้างความยุ่งยากให้แก่ผู้ที่เดินทางเข้าประเทศบรูไนอยู่บ้างหากพบกับเจ้าหน้าที่ประเภทดังกล่าว

THE BATTLE OF BLAAUWBERG: DAY OF DESTINY

THE BATTLE OF BLAAUWBERG: DAY OF DESTINY


By Willem Steenkamp

Introduction

Soon after first light on the morning of January 8, 1806, the peaceful plain behind the Blaauwberg, just 30km from Cape Town, erupted in an orgy of controlled violence on a scale never before seen at this faraway enclave at the toe of Africa.

Artillery pieces boomed and spat lethal iron cannon-balls back and forth, muskets rattled off individual shots or roared in volleys. Wounded men and horses screamed as they wallowed in their own blood, officers and sergeants shouted orders in voices hoarse with thirst, torrents of sweat turning their powder-stained faces into devils’ masks.


Drums rattled, Highland bagpipes screeched eerily, overlaying frenzied battle-cries in Dutch, English, French, Gaelic and the local dialect Malay. Everywhere lay the dead, some in the red coats of imperial Britain, others in the dark blue of Holland’s Batavian Republic.


Two hours later it was over. General Jan Willem Janssens, commander of the Batavian forces, had withdrawn and General Sir William Baird of His Britannic Majesty’s Army was the master of the battlefield and its gory fruit. It was still to be another 10 days before a formal capitulation was signed, but for all practical purposes the Cape of Good Hope was now a British colony.

The Battle of Blaauwberg was insignificant when measured against the scale of other battles of the Napoleonic period. It involved a total of no more than about 6 000 men, and at its end, the combined dead, wounded and missing amounted to just over 500 - a mere bagatelle compared to epic battles of the period, such as Austerlitz and Waterloo.


Yet that brief clash of arms had enormous consequences, not just for the Cape but for all of Southern and Central Africa, because it drastically and permanently altered the regional architecture of power and set in motion a long train of interconnected events that is still unfolding today, almost 200 years later.


In spite of this, however, it has become little more than a footnote in our history-books. Not only is its historical significance almost forgotten, but also the array of people and personalities involved, which makes its telling read like a fascinating work of fiction rather than hard fact.

The “cast of characters” includes the generals like Janssens and Baird; the expatriate soldiers and sailors who fought on both sides: Dutch, English, Scottish, French, German, Hungarian and Austrian; and, most important of all, the small but valiant multi-racial corps of Cape-born men – white dragoons, coloured light infantrymen and Panglima’s Muslim Malay gunners, who stood their ground after many of the Batavian troops had fled, and held off the battle-hardened British till the Batavian army had managed to withdraw.

The Cape contingent at Blaauwberg was a small one, only 563 men out of a total of just under 2 000 in the Batavian forces, which consisted of the following units:

* 181 men of the Hottentot Light Infantry (these were what would today be called “coloured”; “Hottentot” was then a descriptive rather than perjorative term).

The Hottentot Light Infantry was an efficient corps of professional soldiers whose men had already acquired a fine reputation as turbulent but valiant fighting soldiers. They were raised by the Dutch East India Company as the Korps Pandoeren in 1787, and at the Battle of Muizenberg fought shoulder to shoulder with the light dragoons. They were then recruited into the British service as the Cape Corps and in 1803, after the handover of the Cape to the Batavian Republic, into the Batavian service as the Hottentot Light Infantry.

* 224 men of the volunteer “burgher cavalry”, organised as light dragoons (actually mounted infantry who fought on foot), mainly from the Swellendam district. The light dragoons were volunteers, drawn from the farming community. By 1806 they had acquired a fine track record, having fought very well at the Battle of Muizenberg during the first British invasion of 1795; when the DEIC regular troops had fled almost without firing a shot, the dragoons and the coloured soldiers of the Korps Pandoeren counter-attacked so ferociously that they drove a much larger British landing force back almost to the water’s edge, and were only forced to retreat by artillery fire.

* 54 gunners of the “Javanese artillery corps”, assisted by 104 auxiliaries such as wagon-drivers. The Panglima Malay Muslim artillerymen were also volunteer citizen-soldiers, members of a “corps of free Javanese” recruited from the “Mardykers”, the substantial community of freed slaves of Malay origin, which by that time was playing an increasingly important role in the social and economic life of the Cape.

General Janssens had established the corps in 1804, mainly to help in manning the Castle’s guns, and by the time of Blaauwberg it had gained a good reputation for zeal and efficiency. Because Blaauwberg was far beyond the range of the Castle’s gun, the “free Javanese” served on this occasion as a unit of foot artillery, the only such unit in South African military annals. The guns they fired at Blaauwberg were “lantakas”, the traditional Indonesian light cannon – again, the only time these traditional weapons were ever used in Africa, as far as is known.

The words of the oath they swore still survives. “Ik beloove en zweere by den Eenigen en Almachtige God en Zyner grooten Profeet Mohamet trouw aan de Bataafsche Republiek, dit land onzer inwoning, tegen alle vyanden van den Bataafsche Republiek te beschermen”. Freely translated from the Dutch, it reads: “I promise and swear by the One Almighty God and His great Prophet Mohamet my loyalty to the Batavian Republic, (and) to defend this land in which we live against all enemies of the Batavian Republic.” They were soon to prove that to them these were not mere words but a sacred undertaking.

Less is known about their 104 auxiliaries, but it is known that they represented a cross-section of Cape Town’s very cosmopolitan proletariat; some of them were almost certainly blacks who had come to the Cape from Mozambique and elsewhere.

The Cape men can only be described as a mixed bag. Some were Christians, some were Muslims, others animists; their skins were of every colour found in mankind. Some had been born free, others were former slaves.

Some were professional soldiers, others citizens in arms. Their professions ranged from labourer to soldier to shop-keeper to farmer, and their personal condition from prosperous to comfortable to poor.

But they had three important things in common. However, that comes later in this account.


Four seminal events in South African history

The Battle of Blaauwberg (literally "Blue Mountain" in Dutch) - at which a British expeditionary force wrested the Cape of Good Hope from the Batavian Republic – might have been insignificant when measured against the scale of other battles of the Napoleonic period, but it had enormous consequences, not just for the Cape but for all of Southern and Central Africa. It drastically and permanently altered the regional architecture of power and set in motion a long train of interconnected events that is still unfolding, almost 200 years later.

Seen against the broader tapestry of the sub-continent’s history, Blaauwberg was the third of four seminal events – the fourth being the election of 1994 - that determined the shape of things to come in an immense swathe of territory.


The first seminal event took place before recorded history, when Khoi clans from the hinterland colonised what later came to be known as the Cape of Good Hope, marginalised the original hunter-gatherers - whom they scornfully referred to as "San” or “Sanqua", meaning robbers or murderers - and set up a loose but clearly defined patchwork of independent clans and small tribes.


The clans' main preoccupations were livestock ownership and access to water and grazing; while some enjoyed peaceful co-existence through links of blood or mutual interests, there was also constant competition for resources.


The second seminal event was the arrival in April 1652 of members of the Dutch East India Company under Jan van Riebeeck, whose mission was not colonisation as such but the creation of a revictualling and repair station for DEIC ships undertaking the long haul from Europe to the spice-growing countries of the Far East, where the company had established a trading centre called Batavia in what is now Indonesia, and the equally arduous journey home.


The Cape became so important to the Dutch economy that the DEIC settled in for a long stay. No systematic colonisation per se took place (this was expressly forbidden, together with any attempt at converting the local inhabitants to Christianity or making war on them if this could be avoided, because the DEIC’s main purpose was to provide a way-station for its passing merchant fleets) but there were several unplanned consequences.


One consequence was that the outpost expanded beyond what had originally been envisaged because the Khoi were not cultivators and did not like to trade off too much of their livestock, which were a status symbol. This meant that the outpost had to grow its own grain and breed its own livestock to fulfil its purpose of re-supplying the DEIC ships.

Another consequence was that Islam was established at the tip of Africa because DEIC policy did not allow for enslaving or conscripting the local inhabitants.

As a result, slaves were imported from what is today Indonesia and its neighbouring countries, as well as India, while other inhabitants of those countries came as freemen and yet others were exiled here after clashing with the DEIC.


By far the most famous of these early Cape Malay Muslims was, of course, Tuan Guru Abdoes Qadi Salaam, R.A. of Tidore an nobleman of great influence. In 1794 Tuan Guru was banished to Robben Island.Tuan Guru as he was affectionately known wrote three Holy Qurans from memory which one is to be found in the first mosque the Auwal mosque in Dorp street in Cape Town.Also he gave sword over to his close friend Imam Achmat of Bengal to lead the Panglima’s into battle as he was very old at that time.

By all accounts the DEIC treated Tuan Guru R.A. was cruel and this evident from his diary which he kept.He had played a great role in entrenching the Islamic faith in South African soil, for which he is remembered to this day. It is important to note the status of Islam at that time, and for the next century or so. Its practice was condoned by the DEIC but, like all the other faiths at the Cape except for the strict Protestant church of the DEIC, it did not enjoy legal recognition or protection.


A third unintended consequence was that the fragile and disunited Khoi social structure could not withstand the impact of a more firmly organised, better-resourced and inevitably expansionist social machine. Its demise was hastened by lack of a common purpose - with some clans enlisting the help of the Dutch against their enemies - and a devastating epidemic of smallpox brought by ships from the Far East in 1713.


That no such epidemic had arrived at the Cape before then was very strange, seeing that trading ships of various nationalities had been calling since the 16th Century, bringing with the the world’s diseases. But in 1713 ships coming from the Far East brought smallpox with them, and it wiped out the major part of the Khoi population in what is now the Western Cape.


Within three generations most of the pre-1652 Khoi culture had crumbled away, and a new society had begun to arise at the Cape, composed of foreign and locally-born whites; the descendants of Javanese exiles, slaves and free persons; people of mixed descent; and small numbers of blacks from farther afield.


Further infusions took place as the decades passed, and as the years passed the people of the Cape became ever more cosmopolitan; at the same time they were beginning to evolve into a distinctive society with its own cultural characteristics and also its own creole language - a mixture of Dutch, Melayu, French and Khoi words and grammar which was later to be known as Afrikaans. To this day, some Melayu words are in common use in Afrikaans – such as “aia” and “baie” (a corruption of “banjak”) – and so is the practice of repeating a word to give it greater emphasis, and the double negative. The Mardyker cuisine has been maintained by the Malay community, and much of it has passed into the broader South African cuisine.


Through all these changing times, one thing remained constant: the vital importance of the Cape of Good Hope. The mighty Dutch East India Company, although a private enterprise, was the backbone of the Netherlands’ economy, since the Dutch were barred from operating in the Mediterranean Sea by the Kingdom of Spain; and it was said that while the prosperity of the Netherlands depended on the prosperity of its Indonesian outpost of Batavia, so the prosperity of Batavia depended in turn on the existence of the Cape.


The precursor to the third seminal event took place in late 1795, by which time the once-powerful Dutch East India Company was enfeebled and almost bankrupt. The decline of its parent naturally affected the Cape’s place in the scheme of things, but it was soon to assume an importance of a different kind.


Europe was in turmoil as the French Revolution spread outward to neighbouring countries; among other things there was an insurrection in the Netherlands; the Dutch ruler, Prince William V of Orange, was forced to exile himself in Britain, and the Batavian Republic was proclaimed.


The Batavian Republic (named in honour of the Batavia, a Dutch tribe which had ferociously resisted the ancient Romans) was the nearest thing to a liberal democracy that could be found in those days. Based on the French revolutionary ideals of liberty, equality and fraternity, it had a constitution which guaranteed various liberties such as the freedom of religion, forbade slavery and introduced a qualified non-racial franchise.


France declared war on Britain and the remaining loyalist Dutchmen, and there ensued a ferocious struggle (known not quite accurately today as the “Napoleonic Wars”) that was to continue, with occasional pauses, till 1815.


Now the Cape was strategically as well as commercially important. Like the Dutch, the British and French had been heavily involved in the Far Eastern trade since the 17th Century, and had acquired substantial colonial holdings there; possession of the only existing revictualling and ship-repair station half-way between West and East became crucial from a military as well as an economic point of view.


Sir Francis Baring, chairman of the English East India Company, put it succinctly in a January 1795 letter to the British Secretary of State for War, Henry Dundas, when he pointed out that the Cape “commands the passage to and from India as effectively as Gibraltar does the Mediterranean”. Equally trenchantly, Dundas’s Under-Secretary noted that although the Cape was “a feather in the hands of the Dutch” it would become “a sword in the hands of France”.


The British government pressured the Prince of Orange into authorising Dutch naval commanders to allow British warships to defend the Cape against the French and ordering Commissioner A J Sluysken to accommodate British troops to prevent a French invasion. It then despatched three squadrons of warships with several thousand soldiers on board.


On 11 June 1795 the first two squadrons, under Vice-Admiral G K Elphinstone, anchored in False Bay, which (unlike Table Bay) was poorly fortified, and entered into negotiations with Sluysken and his military commander, Colonel Robert Jacob Gordon. It soon became evident that, far from merely garrisoning the Cape against the French, they wanted full control over it; negotiations broke down and on 14 July the British landed soldiers at Simon’s Town and occupied it.


On 7 August a 1 600-strong force consisting of soldiers and two battalions of seaman disembarked at Muizenberg and advanced on the Dutch positions there, which were defended by 287 infantrymen and 150 artillerymen of the VOC’s regular garrison, as well as 200 white citizen-soldiers which included light dragoons from as far afield as Swellendam, and 150 coloured soldiers of the Korps Pandoeren.


To their surprise they encountered little resistance; the officer in charge, Lieutenant-Colonel C M W de Lille, had been ordered to give offer only a token resistance. However, the citizen-soldiers – all of whom supported the Batavian Republic – and the Pandoeren offered a spirited resistance. They launched a fierce flanking attack, and in spite of their small numbers forced the British to retreat, then pursued them for some distance till they were forced to desist by fire from some of the abandoned Dutch guns that the British had turned on them.

Several weeks of guerrilla warfare then followed, but on 3 September the third British squadron arrived with 2 500 soldiers arrived and the final advance on Cape Town began. On 14 September a 24-hour truce was negotiated and the following day the Cape surrendered. Thus ended a short and ignominious campaign, whose only highlight had been the heroic repelling of 1 600 British soldiers and sailors by less than 400 white and coloured soldiers, most of them either citizens in arms or barely trained recruits unproven in battle.


The invasion of the Cape was, to all intents and purposes, the death-blow for the faltering Dutch East India Company; and when the British reluctantly relinquished the Cape in December 1802 in terms of the short-lived Treaty of Amiens, they handed it over to the Batavian Republic.

It was a significant moment in South African history. For the first time the Cape had a national identity. It was no longer either a scattering of individual tribes or a commercial outpost run by the Dutch East India Company, or even a colony; it was now part of the democratic Batavian Republic and its people were Batavian citizens. Also for the first time the Cape, led by the new Governor-General, Lieutenant-General J W Janssens and, initially, Commissioner Abraham de Mist, was being governed for and by its inhabitants rather than managed as a virtual branch office of the Dutch East India Company’s headquarters in Indonesia.


Janssens and De Mist forbade the importation of slaves, preparatory abolishing slavery for good. They established a non-racial qualified franchise; they freed trade, so that the inhabitants could do business directly with any passing ship or even with Europe. Schools and agriculture were upgraded. Government finances were opened for scrutiny by the people. The Islamic faith, which had been tolerated but not officially recognised by either the Company or the British in 1795-1802, was accorded equality before the law and full legal protection.


It was an amazing transformation; within less than three years the Cape had become the only liberal democracy in Africa and, in fact, in most of the world. But Batavian rule at the Cape was destined to come to an abrupt end.


In 1805 the British decided to return, this time for good. The French had suffered a devastating naval defeat at the Battle of Trafalgar, but their maritime fighting forces remained formidable; with the Cape as a secure base and Mauritius also in British hands, the Royal Navy could dominate the southern oceans


In August 1805, as Napoleon massed forces at Boulogne to invade England, a British force sailed away on a secret mission to re-take the Cape. It consisted of 61 warships and transport vessels commanded by Vice-Admiral Sir Home Popham and 6 654 soldiers and marines under Major-General Sir David Baird. It was a formidable force indeed, and in addition Baird knew the Cape well from serving there after the first invasion.


On 4 January 1806 Janssens received definite tidings of the British arrival off the coast, and immediately began mobilising both his regular soldiers and his local forces, most of them part-time citizen-soldiers. To call in the latter, the chain of signal guns stretching inland for almost 250km began firing in sequence.


It was the very worst time for such a summons. Crops were ripening and could not be left unattended, and it was so hot that many of the outlying burghers had to travel at night or risk killing their horses.


As a result, Janssens had been able to muster only about 2 000 soldiers by the time the British arrived in Table Bay on 5 January: the mercenaries of the Regiment Waldeck, two Batavian battalions, a squadron of Batavian light dragoons, a troop of Batavian horse artillery,
240 sailors and marines from two beached French warships, the Atalante and the Napoleon, and his force of local men - the Hottentot Light infantry, some burgher commandos; the Swellendam light dragoons and the “Javaansche Malay Artillerie Corps”.


There was a howling south-easter which made conditions in Table Bay so bad that Popham concluded he would be unable to land, and diverted a portion of his force to Saldanha Bay to make landfall there and then advance on Cape Town. But then the wind and sea abated to a certain extent, and Popham decided to risk a landing.


On the morning of 6 January Popham ordered that a small merchantman be scuttled next to a sandbank at Losperds Bay (now Melkbosch) to form a breakwater, and Baird started landing his troops, although the sea was still so rough that 36 soldiers drowned when their boat capsized. There was light resistance from some skirmishers of the Swellendam light dragoons, but Janssens did not dare to muster any forces along the shoreline because of the danger that they would be bombarded by the British warships, and the invaders’ advance started without delay.


It was a race to reach the commanding heights of Blaauwberg, and the British won by a hair, although only after great suffering in dragging their artillery pieces over the dunes.


Robbed of Blaauwberg’s commanding heights, Janssens formed an extended line on the plain beneath it, with his left flank protected by the burghers and Swellendam light dragoons on an outcrop of Blaauwberg called Kleinberg. His plan was to hold the British left flank with his right, allowing him to roll up the British line with his left flank.


When his men were in position he rode up and down the line, exhorting and encouraging them. In spite of their perilous situation the soldiers cheered him, all except the Austrian and Hungarian mercenaries of the Regiment Waldeck, who maintained a sullen – and, as it transpired, ominous - silence.


Baird divined Janssens’s intentions and divided his force into two columns - the left column consisting of the Highland Brigade (the 71st and 93rd Regiments) under Brigadier-General R C Ferguson, and the right, consisting of the 24th, 59th and 83rd Regiments, under his brother, Lieutenant-Colonel John Baird. There were also between 500 and 600 sailors and marines, dragging two howitzers and six small field-guns.


The battle commenced at 5am on 8 January, with the 24th Regiment attacking the burghers on Kleinberg and finally dislodging them after a fierce fight that left a captain and at least 15 men dead, and many other British soldiers wounded. By now the Highland Brigade was advancing amid general cannon-fire from both sides, and some cannon-balls landed among the Waldeck regiment's right flank, causing great despondency. The Highlanders fired their muskets and then fixed bayonets and charged, shouting terrifying Gaelic war-cries while their bagpipes screamed their ancient battle-music.


The Waldeckers allowed the Highlanders to approach within 100 yards of their front. Then, instead of mowing them down with a volley at close range, they broke and ran. The left wing of one Batavian battalion, the 22nd Regiment of the Line, was now unsupported and also began to crumble; Janssens managed to rally it, but the momentary failure had sowed a fatal weakness in the Dutch line.


Now Janssens’s other Batavian battalion, the 9th Batavian Rifles, also started to withdraw as its flank was threatened. The Frenchmen stayed in place, although both their flanks were now unsecured, till being forced back after suffering heavy casualties. The handful of Batavian dragoons also stood fast, but Janssens eventually ordered them to withdraw as well to prevent their unnecessary annihilation.


The remainder of Janssens’s force - the burgher commandos and light dragoons, the Hottentot Light Infantry, the Muslim Malay artillerymen, and the Batavian horse artillery – did not follow suit. Although outgunned and vastly outnumbered, they doggedly stood their ground in the face of intense fire. Eventually Janssens, fearing for their very survival, ordered them to retire, which they did in good order. Only one Batavian gun was lost, due to the gun-horses being killed, and the gunners made sure to spike it so that it could not be turned on them.


Although they suffered severely for their bravery, they succeeded in delaying the British advance long enough to allow Janssens’s "tail" to escape to Rietvlei. There he regrouped his forces – all except for the Waldeckers, most of whom he sent back in disgrace to Cape Town – and withdrew to the Hottentots Holland mountains. Thus ended the Battle of Blaauwberg, the only true battle to be fought within sight of Cape Town in 400 years.


Although it was not a huge bloodletting by the standards of the Napoleonic Wars, it had cost Janssens’s small army dearly, particularly his Cape men - 337 on the Dutch side were not there to answer their names when the rolls were called afterwards.

What did they achieve?

The sacrifice of the Cape men and the others who stood fast, the Frenchmen and the Batavian horse artillery, was not in vain, because they performed one all-important service: they held the British line long enough to allow Janssens to withdraw most of his forces, including his supply wagons and spare horses.


This meant that he could take up new positions inland and negotiate terms of capitulation that contained the most favourable possible conditions for the people of the Cape and their soldiers, particularly the Hottentot Light Infantry, which had particularly distinguished itself.


It would have been very different if his army had been destroyed at Blaauwberg, because that would have meant an unconditional surrender in which the Cape people would have had no say about their future.


As it was, the transition of the Cape from Batavian possession to full-blown British colony took place as smoothly and painlessly as possible, thanks largely to the small but valiant band of forgotten heroes of the Battle of Blaauwberg.

Why did they do it?

Why did this little multi-racial, multi-faith Cape contingent fight so hard?


One reason might well have been that regardless of their origins or personal differences they were Cape-born men rather than settlers or expatriates, and knew no other home.


A third reason was surely that they all had a great deal riding on the outcome of the Battle of Blaauwberg. The Swellendammers had been Batavian sympathisers for years, and had tasted the fruits of prosperity as a result of the Janssens-De Mist reforms. For the men of the Hottentot Light infantry the coming of the Batavian Republic had surely opened up a new vista for the future. The Malays were obviously intensely aware of the fact that the Batavians had given full protection and recognition to their religion, and initiated the process of abolishing slavery altogether.


No doubt this is why the historical records say that Janssens was cheered by his Cape soldiers, and indeed all the others except the soon-to-flee Waldeck Regiment, as he made his final inspection just before the battle.


So the Cape men had a great deal to lose, and indeed they lost it all. Instead of being abolished, slavery lingered on till the 1830s, and the Cape became a crown colony, ruled by a non-elected Governor (it would not taste even limited internal self-government for another half-century).


But the larger picture shows that far greater and more significant things happened as a result of Janssens’s defeat. The second British conquest of the Cape radically changed the likely history of the entire southern portion of the African continent.


To the British, the 1806 invasion was no more than a logical follow-on to the victory at Cape Trafalgar, the tying up of a loose end in their long, hard war against Napoleon; by the nature of things neither they nor their unenthusiastic new subjects at the Cape had any inkling of the pattern of events that were to follow as a result of their conquest.


The most fundamental consequence of the British victory at Blaauwberg was the mass migration which started in the late 1830s and became known as "the Great Trek".


Disgruntled by frequently insensitive treatment, including a badly bungled slave-emancipation process and a disregard for Dutch - the first language of virtually all Cape people – in spite of solemn undertakings in the articles of capitulation, a substantial number of farmers and others resolved to pack up their belongings and move beyond the British writ. This they did, not as a co-ordinated mass migration into the interior but a series of ventures, both large and small, spread over a number of years


Most of the Voortrekkers moved inland, into the chaotic power and population vacuum left by the societal collapse resulting from the campaigns of King Shaka of the Zulus; others followed the eastern coastline towards the Zulu kingdom. Decades of roving and intermittent warfare followed, with British influence never far behind, so that by the beginning of the 20th Century all of what is now South Africa was in British hands.


The last local entities to be conquered by the British, once Zulu and Xhosa independence had been destroyed, were the two Boer states founded by the Voortrekkers, the South African Republic and the Orange Free State Republic.


Historical hindsight is not always as clear as is sometimes believed, but one could speculate as to what might have happened if there had been no invasion in 1806. For instance, it might reasonably be speculated that:


· Slavery would have been abolished at the Cape a quarter-century before it was finally done away with by the British government.


· "South Africa" would have been merely a geographical expression for one Dutch colony (the Cape) and an assortment of independent tribal kingdoms, vassal states and trading outposts; the Cape of Good Hope probably would have turned into a pleasant and rather unimportant little multi-racial Dutch colony like Suriname, and eventually received its independence in the 1960s.

Is there a positive message emanating from Blaauwberg if the speculation above is accurate? It depends on one's outlook. It could be said that Blaauwberg brought immense suffering and troubles in its wake. It could also be said that in a very real sense it changed world history for the ultimate good, and that the South African nation that arose in its wake might yet be Africa's salvation.


What no-one can dispute is that when the first redcoat planted his boots on the sands of Losperd's Bay the future of Southern Africa, and the world, took a turn that not one of the men who were soon to be frantically loading and firing their muskets amid the roiling clouds of powder-smoke at Blaauwberg could have anticipated in their wildest imaginings.


The forgotten heroes of Blaauwberg

The Cape men who fought so heroically at Blaaubwerg have been forgotten. There is no memorial, or even a simple plaque on any wall, to celebrate their deeds and mourn the passing of those who fell. There is no list of their honoured dead, they are not even mentioned in most history-books, and the Battle of Blaauwberg itself is dismissed in a few cursory paragraphs.


It is almost as if they never existed except in legend, even though thousands of their direct descendants live in Cape Town to this day, a mere cannon-shot from where they died, and the bones of at least some of them must still lie under the soil of the battlefield.


Every year Capetonians gather to pay tribute to the heroes of Delville Wood and El Alamein, and all the other famous battles in which our soldiers fought; but the heroes of Blaauwberg sleep in the undeserved obscurity to which we, their flesh and blood, have consigned them through our own neglect.


The High Level road graveyard that commerated our fallen Panglima Muslim Malay men that died that day was sold in the 1970’s to private developers with no hindsight of our history by some of scrupulous religious leaders.