Ekonomi/Bisnis

Sabtu, 24 Julai 2010

เข้าร่วมสัมมนา Pertemuan Penyair Nusantara ครั้งที่ 4 ที่กรุงบันดาร์ศรีเบอกาวัน ประเทศบรูไนดารุสสาลาม

โดย นิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน

ATUR ACARA TENTATIF
PERTEMUAN PENYAIR NUSANTARA KE-4, 2010 (PPN4) /BRUNEI INTERNATIONAL POETRY GATHERING 2010

HARI PERTAMA: JUMAAT, 16 JULAI 2010
Pagi – petang: Kehadiran dan urusan penginapan bagi peserta luar negara dan sesi pendaftaran
MAJLIS PEMBUKAAN RASMI PPN4
Tempat: Dewan Bankuet, Bangunan Majlis Mesyuarat Negara
7.00 malam: Kehadiran peserta dan jemputan
7.30 malam: Ketibaan Tetamu Kehormat,
Yang Berhormat Pehin Datu Seri Maharaja Dato Paduka Seri Setia Ustaz Dr. Haji Awang Abdul Aziz bin Juned (Adi Rumi),
Mufti Kerajaan Negara Brunei Darussalam

•Bacaan surah Al-Fatihah, dan Doa Selamat
•Ucapan Pengerusi Bersama PPN4, YM Prof. Madya Ampuan Dr. Hj. Brahim bin Ampuan Hj. Tengah, Ketua I ASTERAWANI
•Ucaptama dan Perasmian oleh Tetamu Kehormat
•Pelancaran Antologi Sajak Gema Nusantara
•Persembahan Tambang Syair karya Muda Omar ‘Ali Saifuddien
•Imbauan dan Ambauan Penyair 3 Serangkai:
•Yahya M.S.
•Badaruddin H.O.
•Adi Rumi
•Menikmati Jamuan
•Persembahan Penyair Nusantara
•Pertukaran Cenderamata
•Bergambar Ramai
•Bersurai

HARI KEDUA: SABTU, 17 JULAI 2010
DIALOG PUISI
Tempat: Dewan Raya, Radio Televisyen Brunei
8.00 – 8.30 pagi: Pra Gema: Melestari Kehijauan Alam dan Kehidupan
Prof. Siti Zainon Ismail
8.30 – 10.00 pagi: Gema 1: Penyair Pembina Masyarakat

•Brunei Darussalam: Prof. Madya Ampuan Dr. Hj. Brahim
•Indonesia: Drs. Viddy AD Daery
•Malaysia: Dr. Awang Azman Awang Pawi
•Thailand: Nik Abdul Rakib Nik Hassan
•Pemakalah Singapura
•Pemakalah Luar Nusantara
10.00 – 10.30 pagi: Minum pagi
10.30 pagi – 12.00 tgh: Gema 2: Kepenyairan: Akreditasi dan Kredibiliti

•Brunei Darussalam: Prof. Madya Dr. Hj. Hashim
•Indonesia: Prof. Dr. Abdul Hadi WM
•Malaysia: Rahimidin Zahari
•Thailand: Zawawi Padaameen
•Penyair Singapura
12.00 tgh – 2.00 ptg: Makan tengah hari / Solat Zuhur / Rehat
2.00 – 3.30 ptg: Forum Penyair Nusantara: “Rangsangan Lonjakan Industri Kreatif Menerusi Dunia Perpuisian”

•Brunei Darussalam: Mohamad bin Rajap
•Indonesia: Drs. Ahmadun Yosi Herfanda, MTI
•Malaysia: S.M. Zakir
•Panel Singapura
•Panel Filipina / Kemboja / Thailand
3.30 – 4.30 ptg: Gema 3: Kepenyairan Media Baru

•Brunei Darussalam: Zefri Ariff Brunei
•Indonesia: Drs. Isbedy Stiawan ZS
•Malaysia: Mohamad Saleeh Rahamad
•Akademia / Pengamal Media dari Singapura
4.30 ptg – 7.00 mlm: Minum Petang / Solat Asar / Rehat
MERAKYAT PUISI
Tempat: Bangunan Yayasan Sultan Haji Hassanal Bolkiah
7.00 – 8.00 mlm: Kehadiran Peserta dan Makan Malam
8.30 – 10.30 mlm: Malam Puisi Yayasan

HARI KETIGA: AHAD, 18 JULAI 2010
8.00 – 10.15 pagi: Sepagi Puisi di Tarindak D’Seni
10.30 – 11.15 pagi: Lawatan ke Galeri Pusat Kesenian dan Pertukangan Tangan Brunei
11.30 pagi – 12.30 tgh: Lawatan ke Galeri Kebudayaan dan Pelancongan Kg. Ayer
12.45 tgh – 1.15 ptg: Lawatan / Solat Zuhur di Masjid Omar ‘Ali Saifuddien

FESTIVAL PENYAIR NUSANTARA
(Bersempena dengan Sambutan Perayaan Hari Ulangtahun Kebawah Duli Yang Maha Mulia Paduka Seri Baginda Sultan dan Yang Di-Pertuan Negara Brunei Darussalam yang ke-64 Tahun)
Tempat: Dewan Raya, Radio Televisyen Brunei
1.30 ptg: Kehadiran Peserta dan Jemputan
2.00 – 3.45 ptg: Festival Penyair Nusantara

MAJLIS PENUTUPAN RASMI PPN4
4.00 ptg: Kehadiran Tetamu Kehormat,
Yang Berhormat Pehin Udana Khatib Dato Paduka Seri Setia Ustaz Haji Awang Badaruddin bin Dato Paduka Pengarah Haji Othman (Badaruddin H.O.),
Menteri Hal Ehwal Dalam Negeri, Negara Brunei Darussalam

•Pembentangan Resolusi
•Ucapan Pengerusi Bersama PPN4, YM Dayang Hajah Aminah binti Hj. Momin, Pemangku Pengarah DBP
•Penyerahan Simbolik kepada Tuan Rumah PPN5
•Ucapan Penutupan Rasmi oleh Tetamu Kehormat
•Pertukaran Cenderamata
•Doa Selamat
•Acara Bergambar Ramai
•Jamuan
•Bersurai
Malam: Acara bebas
HARI KEEMPAT: ISNIN, 19 JULAI 2010
Pagi – Malam: Kepulangan peserta luar negara.
x

นักศึกษามหาวิทยาลัยบรูไนพบปะนักศึกษา มอ. ปัตตานี

โดย นิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน
สำหรับการเรียนการสอนของข้าพเจ้าในม. สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานีนั้น ข้าพเจ้ามักบอกนักศึกษาว่าการสอนของข้าพเจ้าในชั้นเรียนนั้นเป็นเพียงส่วนหนึ่งของความรู้ที่พวกเขาจะได้รับ พวกเขาต้องค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมทั้งในหอสมุด จอห์น เอฟ. เคเนดี้ของม. สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี หรือหอสมุดอื่นๆ นอกจากนั้นวิชาของข้าพเจ้าส่วนหนึ่งจะเป็นการลงพื้นที่ภาคสนาม ทั้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือประเทศเพื่อนบ้าน เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ หรืออินโดเนเซีย การลงภาคสนามก็เป็นอีกส่วนหนึ่งที่พวกเขาจะได้รับความรู้ ประสบการณ์นอกจากในชั้นเรียน และเป็นเรื่องปกติของข้าพเจ้าที่เมื่อมีคนรู้จักจากถิ่นอื่นมาเยี่ยมมหาวิทยาลัย มักได้รับเชิญให้บรรยายเกี่ยวกับสิ่งที่คนเหล่านั้นมีความชำนาญเฉพาะ หรือเกี่ยวกับสิ่งที่ได้สัมผัสมา ในในโอกาสที่คณะนักศึกษาอาสาสมัครจากมหาวิทยาลัยบรูไนดารุสสาลาม เดินทางมาลงภาคสนาม มาช่วยสอนภาษามลายูและภาษาอังกฤษเป็นเวลา 1 เดือนที่จังหวัดปัตตานี และในโอกาสที่ก่อนจะเดินทางกลับประเทศบรูไน ข้าพเจ้าจึงเชิญพวกเขามาพบปะ พูดคุยกับนักศึกษาวิเอกมลายูศึกษา ด้วยนักศึกษาวิชาเอกมลายูศึกษาต้องเรียนรู้เกี่ยวกับประเทศบรูไนตั้งแต่ปี 2 จนถึงจบการศึกษา สำหรบการพบปะของนักศึกษาบรูไนในครั้งนี้ได้รับการช่วยเหลือประสานงานจากผศ.อาริน สะอีดี, ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ ม. สงขลานครินทร์ ปัตตานี

สภาพภายในห้องเรียนที่นักศึกษาบรูไนพบปะกับนักศึกษาวิชาเอกมลายูศึกษา

ถ่ายภาพเป็นที่ระลึกหน้าห้องเรียน

ผศ.อาริน สะอีดี, ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ มอ.ปัตตานี ร่วมสังเกตุการณ์ด้วย

นางสาวไลลา อาแว ตัวแทนนักศึกษากำลังกล่าวขอบคุณนักศึกษาบรูไน

นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยบรูไนดารุสสาลามที่เป็นนักศึกษาอาสาสมัครมาสอนภาษามลายูและภาษาอังกฤษแก่โรงเรียนราษฎร์สอนศาสนาอิสลามและโรงเรียนสาธิต ม. สงขลานครินทร์ ปัตตานี ที่ได้เข้าร่วมพบปะกับนักศึกษาวิชาเอกมลายูศึกษามี 8 คนประกอบด้วยนักศึกษาชาย 2 คน และนกศึกษาหญิง 6 คน มีดังนี้

นางสาว Azimah bt. Haji Salleh นักศึกษาสาขาการบัญชีและการเงิน

นางสาว Noraimah bt. Said นักศึกษาสาขาประวัติศาสตร์

นางสาว Dayangku Siti Hasinah bt. Pengiran Sazali นักศึกษาสาขานโยบายศึกษา

นาย Aizuddin นักศึกษาสาขานโยบายศึกษา

นาย Azri นักศึกษาสาขานโยบายศึกษา

นางสาว Siti Salmiah นักศึกษาสาขานโยบายศึกษา

นางสาว Norhidayah bt. Naruddin นักศึกษาสาขานโยบายศึกษา

นางสาว Ayshah bt. Kamaruddin นักศึกษาสาขาสังคมวิทยา

กำลังพูดภาษามลายูบรูไน และภาษาเกอดายันให้นักศึกษาฟัง ปรากฎว่านักศึกษาสั่นหัวไม่เข้าใจภาษาเดอกายัน ซึ่งเป็นหนึ่งในเจ็ดเผ่าของชาวมลายูบรูไน

กำลังอธิบายเกี่ยวกับประเทศบรูไน

กำลังอธิบายเกี่ยวกับประเทศบรูไนให้นักศึกษาวิชาเอกมลายูศึกษาฟัง

กำลังอธิบายเกี่ยวกับประเทศบรูไนให้นักศึกษาวิชาเอกมลายูศึกษาฟัง

กำลังร้องเพลงชาติบรูไนที่ชื่อว่า "Allah Peliharakan Sultan"ให้นักศึกษาวิชาเอกมลายูศึกษาฟัง

กำลังอธิบายเกี่ยวกับประเทศบรูไนให้นักศึกษาวิชาเอกมลายูศึกษาฟัง

นักศึกษาบรูไนกำลังเขียนชื่อกลุ่มชนเผ่าต่างๆในประเทศบรูไน

การเมืองการปกครองประเทศบรูไน
ประเทศบรูไนแบ่งการปกครองออกเป็นเขตหรืออำเภอ เรียกเป็นภาษามลายูว่า daerah
มีเขตหรืออำเภอดังต่อไปนี้ :
•1.Brunei Muara
•2.Belait
•3.Tutong
•4.Temburong

ในเขตหรืออำเภอต่างๆของประเทศบรูไนนั้นแบ่งออกเป็น 38 ตำบล ประกอบด้วย
•1.Mukim Kianggeh
•2.Mukim Berakas 'A'
•3.Mukim Berakas 'B'
•4.Mukim Kota Batu
•5.Mukim Gadong
•6.Mukim Kilanas
•7.Mukim Sengkurong
•8.Mukim Pengkalan Batu
•9.Mukim Lumapas
•10.Mukim Sungai Kebun
•11.Mukim Tamoi
•12.Mukim Burung Pinggai Ayer
•13.Mukim Sungai Kedayan
•14.Mukim Kampong Peramu
•15.Mukim Saba
•16.Mukim Serasa
•17.Mukim Mentiri
•18.Mukim Kuala Belait
•19.Mukim Seria
•20.Mukim Liang
•21.Mukim Kuala Balai
•22.Mukim Labi
•23.Mukim Bukit Sawat
•24.Mukim Sukang
•25.Mukim Melilas
•26.Mukim Pekan Tutong
•27.Mukim Keriam
•28.Mukim Telisai
•29.Mukim Tanjong Maya
•30.Mukim Kiudang
•31.Mukim Ukong
•32.Mukim Lamunin
•33.Mukim Rambai
•34.Mukim Bangar
•35.Mukim Labu
•36.Mukim Batu Apoi
•37.Mukim Amo
•38.Mukim Bokok

กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศบรูไน
ประชากรชาวบรูไนมีประมาร 388,000 คน
ตามรัฐธรรมนูญประเทศบรูไน ฉบับปี 1984 กลุ่มชาติพันธุ์ที่ถือว่าเป็นชนพื้นเมืองของประเทศบรูไนประกอบด้วย 7 ชนเผ่า คือ
1.Melayu Brunei
2.Kedayan
3.Tutong
4.Dusun
5.Belait
6.Murut
7.Bisaya
นอกจากนั้นยังมีชาวอังกฤษ จีน อินเดีย และชนกลุ่มน้อยที่มาจากรัฐซาบะห์และรัฐซาราวัคของมาเลเซีย

หลังจากที่นักศึกษาของมหาวิทยาลัยบรูไนดารุสสาลามได้อธิบายเกี่ยวกับประเทศบรูไนเสร็จ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องภูมิศาสตร์ที่ตั้งของประเทศบรูไน การเมืองการปกครอง อาหารการกินของชาวบรูไน ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวบรูไน และตอบคำถามต่างๆของนักศึกษาแล้ว ก่อนจบรายการก็ได้มีการถ่ายรูปร่วมกันระหว่างนักศึกษาบรูไนกับนกศึกษาวิชาเอกมลายูศึกษา

ถ่ายภาพเป็นที่ระลึกกับนักศึกษาวิชาเอกมลายูศึกษา

สิ่งที่น่าสนใจอย่างหนึ่งของการพบปะระหว่างนักศึกษาบรูไนกับนักศึกษาวิชาเอกมลายูศึกษา คือการที่นักศึกษาของวิชาเอกมลายูศึกษามีความกล้าในการตั้งคำถาม มีการถามด้วยภาษามลายูกลาง ไม่มีใครถามด้วยภาษาไทย แล้วต้องแปลเป็นภาษามลายู

นายฮัมดัน ประธานนักศึกษาปีสี่กำลังปรึกษาว่าจะถามอะไรเรื่องอะไรดี

สภาพบรรยากาศในห้องเรียนวันที่นักศึกษาบรูไนมาพบปะกับนักศึกษา มอ. ปัตตานี

นักศึกษาบรูไนได้แบ่งเนื้อหาที่แต่ละคนจะพูดคุย บางคนพูดสภาพภูมิศาสตร์ของบรูไน แล้วเปิดโอกาสให้นักศึกษา มอ. ปัตตานีถามในสิ่งที่ตนเองสงสัย หรือไม่เข้าใจ สำหรับคำตอบนั้นบางครั้งนักศึกษาบรูไนที่พูดก็จะตอบคำถาม บางครั้งก็โยนให้เพื่อนอีกคนเป็นคนตอบ

สภาพบรรยากาศในห้องเรียน

สภาพบรรยากาศในห้องเรียน

นักศึกษา มอ.ให้ความสนใจในการฟัง

นักศึกษา มอ. ปัตตานี เมื่อฟังการอธิบายถึงสภาพภูมิศาสตร์ ขนบธรรมเนียมประเพณี อาหารการกิน การเมือง การปกครอง ของนักศึกษาบรูไนแล้ว ไม่เพียงมีคำถามที่เกี่ยวข้องกับภูมิศาสตร์ ขนบธรรมเนียมประเพณี อาหารการกิน การเมือง การปกครองของประเทศบรูไนเท่านั้น แต่นักศึกษาหลายคนถามถึงความรู้สึกของนักศึกษาบรูไนที่มีต่อมอ. ปัตตานี และจังหวดชายแดนภาคใต้ทั้งก่อนการเดินทางมาและหลังจากที่ได้มาอยู่ที่จังหวัดปัตตานีเป็นเวลาหนึ่งเดือนแล้ว

สภาพในห้องเรียนวันที่นักศึกษาบรูไนมาร่วมพบปะนักศึกษา มอ. ปัตตานี

นักศึกษา มอ. ในห้องเรียน

นักศึกษา มอ. ในห้องเรียน

นักศึกษา มอ. ในห้องเรียน

นักศึกษา มอ. ในห้องเรียน

นักศึกษา มอ. ในห้องเรียน

นักศึกษา มอ. ในห้องเรียนกำลังฟังการอธิบายของนกศึกษาบรูไน

สภาพบรรยากาศภายในห้องเรียน

ประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัยบรูไนดารุสสาลาม
มหาวิทยาลัยบรูไนดารุสสาลาม(Universiti Brunei Darussalam)เขียนเป็นภาษามลายูอักขระยาวีว่า يونيبرسيتيبرونيدارالسلام มีชื่อย่อว่า UBD เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่ที่สุดของประเทศบรูไน นอกจากนั้นยังเป็นมหาวิทยาลัยที่ใหญ่ที่สุดในประเทศที่รับจำนวนนักศึกษาและมีจำนวนของหลักสูตรที่เปิดสอน

มหาวิทยาลัยบรูไนดารุสสาลาม ก่อตั้งขึ้นในปี 1985 เป็นเวลาหลังจากกประเทศได้รับเอกราชเพียงหนึ่งปี โดยมีการรับนักศึกษาครั้งแรกจำนวน 176 คน ต่อมาในปี 1988 ก็ได้มีการรวมสถาบันการศึกษาที่ชื่อว่า Sultan Hassanal Bolkiah Institute of Education เข้าเป็นส่วนหนึ่งของมหาวิทยาลัย

ตราสัญญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยบรูไนดารุสสาลาม

พันธกิจของมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยบรูไนดารุสสาลาม เป็นมหาวิทยาลัยแห่งชาติของประเทศบรูไนดารุสสาลาม จะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีความเป็นเลิศโดยผ่านการสอน การวิจัย และการบริการในทุกพื้นที่ที่สำคัญต่อประเทศบรูไน

การสอนถือเป็นภารกิจหลักของมหาวิทยาลัยบรูไนดารุสสาลาม โดยมีเป้าหมายในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพในด้านความเป็นเลิศของความรู้ ความสามารถ ทักษะ ทัศนคติ ค่านิยม คุณธรรมและจิตสำนึก เพื่อสนับสนุนการพัฒนาตามความต้องการของประเทศและสอดคล้องกับปรัชญาของชาติ

การวิจัยเป็นภารกิจที่สองของมหาวิทยาลัย ในฐานะที่เป็นมหาวิทยาลัยแห่งชาติของประเทศ มหาวิทยาลัยบรูไนดารุสสาลามจะส่งเสริมและดำเนินการวิจัยโดยเฉพาะในด้านจุดเด่นและเชิงเปรียบเทียบตามความต้องการของชาติ

ภารกิจที่สามของมหาวิทยาลัยเป็นภารกิจการบริการเพื่อชุมชน สร้างเพิ่มจำนวนบุคคลากรของมหาวิทยาลัยให้มีความสามารถและทักษะที่สูง และมีความชำนาญเฉพาะด้าน เพื่อให้การบริการต่อชุมชน

นำโปรแกรม GenNextมาใช้ โดยเริ่มในปี 2009 ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรูปแบบใหม่ของบัณฑิต อันจะทำให้เป็นมหาวิทยาลัยที่มีการเรียนการสอนที่เป็นหนึ่งในบรรดามหาวิทยาลยที่ดีที่สุดในโลก

อาคารต่างๆของมหาวิทยาลัยบรูไนดารุสสาลาม

คณะต่างๆของมหาวิทยาลัย
1.สถาบันสุลต่านฮัสซันนาลบอลเกียะห์เพื่อการศึกษา (Sultan Hassanal Bolkiah Institute of Education)
2.สถาบันแพทยศาสตร์ (Institute of Medicine)
3.คณะศิลปศาสตร์และสังคมศาสตร์ (Faculty of Arts and Social Sciences)
4.คณะบริหารธุรกิจ, เศรษฐศาสตร์และนโยบายศึกษา(Faculty of Business, Economics and Policies Studies)
5.สถาบนสุลต่านฮัจญีโอมาร์อาลีซัยฟุดดินเพื่ออิสลามศึกษาSultan Haji Omar Ali Saifuddien Institute of Islamic Studies (SHOAIIS)
6.คณะวิทยาศาสตร์ (Faculty of Science)
7.สถาบันบรูไนศึกษา (Academy of Brunei Studies)

Selasa, 6 Julai 2010

PREMIUM INFO:”THE NAPOLEON ARMY OCCUPATIONS INDONESIA COINS”

By Dr. Iwan Suwandy


THE DATA BELOW NOT EDIT , THIS FREE INFO WITHOUT ANALISIS INFO AND CONCLUSION  FOR FREE INFO, THE EDIT AND INFORMATIONS AFTER ANALISYS  WITH THE BEST CONCLUSION OF THE RARE COINS DURING THIS ERA ONLY FOR PREMIUM MEMBER ,THE SENIOR  SERIUS SPECIALIST NUMISMATIC COLLECTOR, THAT IS WHY IG YOU WANT MORE INFO REGISTERED YOUR NAME AS THE PREM,IUM MAMBER VIA COMMENT, THIS Dr IWAN S STUDY REPORT NEVER PUBLISHED. GREETINGS FROM Dr IWAN S.

CHAPTER ONE REPUBLIC INDIA  BATAV IN INDONESIA ARCHIPHELAGO
 1. WHEN,  THE BROTHER OF NAPOLEON I, LOUIS NAPOLEON BECAME THE KING OF HOLLAND., HE POINTED DANDELS AS THE GOUVENOR GENERAL IN INDONESIA ARCHIPHLEGO, WITH THE REPUBLIC INDIA BATAV. 
1) THE OLD DESIGN VOC DOEIT WERE USED IN INDONESIA ARCHIPHELAGO. 
                                   Half Doeit 1770-special   
                                        Half Doeit 1750   
                                             1 doeit 1792   
                                  1 doeit special design 1793   
 1 doeit 1805 Dandaels   
2) DAANDEAL ISSUED THE LODEWIJK NAPOLEON COPPER COIN
(1) L.N COIN
                               LN Lodewijk Napoleon 1 doeit  
(2) ANTIQUE LN COPPER COINS 
                                  antique char.L.Napoleon   
                                        1/2 St L.Napoleon  
 
                                     1814 EIC leads Raffles   
                                               DEI 5 1/32   
                                         India Batav 1821 
  
                                              DEI 5 1/16   
                                             DEI 1/8 St.   
                                             DEI 1/4 St. 
  
                                       Half cent 1855(?)   
                                          One cent 1855    
                                       rare Half Doeit 1770   
                                        one Stuiver 1800   
one doeit 1790 the last VOC coin prepared and used after VOC dismished, many coins with other year stil uncommon this day (not illustrated).
The Rare copper coin illsutrated :   
I. During VOC still exist
(1) half doeit 1750 and 1770
(2) one doeit 1792 and 1793   
II. After VOC dismished
(1) DEI Bar token 2ST1801 , 1 st 1800,
(2)Lodewijk Napoleon Copper coin ; one doeit LN common and antique , 5 1/16 ,half stuiver, and one Stuiver.
(3) EIC Lead coin
(4) DEI : 51/32, 1/8 St, 1/4 St, Half cent 1858(the rare 1855 I dont have), one cent 1855 best condition, two and half cent(bengol) 1898.   
Please the collector who have half cent 1855 to show his collections. BECAUSE I DONNOT HAVE THIS RARE COIN.    
                                   Half Doeit 1770-special   
                                           Half Doeit 1750   
                                           1 doeit 1792   
                                 1 doeit special design 1793   
                                      1 doeit 1805 Dandaels   
                              LN Lodewijk Napoleon 1 doeit   
                                  antique char.L.Napoleon   
                                       1/2 St L.Napoleon   
                                      1814 EIC leads Raffles   
                                               DEI 5 1/32   
                                          India Batav 1821   
                                               DEI 5 1/16   
                                                DEI 1/8 St.   
                                              DEI 1/4 St.   
                                       Half cent 1855(?) , 
I have just found  1/2 CENT 1858 
                                 Rare one cent 1855 , 
I have just found unusual  1856 and 1858.
                                           1896 21/2 cent   
                                         rare Half Doeit 1770   
                                         one Stuiver 1800   
During my travellin around Indonesia between 1984-1990, I have found many VOC copper coins, the common and many found one doeit 1790 the last VOC coin prepared and used after VOC dismished, many coins with other year stil uncommon this day (not illustrated).
The Rare copper coin illsutrated :   
I. During VOC still exist
(1) half doeit 1750 and 1770
(2) one doeit 1792 and 1793   
II. After VOC dismished
(1) DEI Bar token 2ST1801 , 1 st 1800,
(2)Lodewijk Napoleon Copper coin ; one doeit LN common and antique , 5 1/16 ,half stuiver, and one Stuiver.
(3) EIC Lead coin
(4) DEI : 51/32, 1/8 St, 1/4 St, Half cent 1856 and 1858(the rare 1855 I dont have), one cent 1855 best condition, unusal 1856 and 1858  , also two and half cent(bengol) 1898.   
CHAPTER TWO THE BATTLE BETWEEN BRITISH VS NAPOEON ARMY IN INDONESIA  
1. THE BATTLE AT BATAVIA AND FORT MASTER CORNELIUS 
this information only for premium member.
2. THE BRITISH GOUVERNUER GENERAL RAFFLES IN INDONESIA
While  the whole E.Archipelago was under British dominnation, he was Governor-General , and resided near Batavia(now Jakarta) from 1811 to 1816 , and from 1818 to 1924 he was Governor of the british possesion s of Sumatra.
 
 
                                   1814 EIC leads Raffles   
During his visit to London , before coming to Sumatra , he founded the Zoology Society , and was its first President , and he began the zoological garden.
When he sailed from Bencoolen , the ship took fire about 50 miles from land, and all his official and private documents , all the living and mounted animals of Sumatra were destroyed .

Lady Raffles , his widow , wrote a memoir of her husband. She was the second wife of Sir Stamford , to whom she was merried in 1817. Her maiden name was Sophia Hull . She survived her husband 22 years and died on the 12th of December 1858, age 72, at Highwood, near London,Middlesex, an estate purchased by Sir Stampford swhortly after his return to England in 1824
CHAPTER THREE KING WILLEM I IN HOLLAND AND  INDONESIA ARCHIPHELAGO  
                                         Hs Willem I 1818 
                                     Ts Original W I 1818 
                                        Original W I 1840 
                                              Hs Willem I 1840 
Hallo collectors,thankyou for click the new IRC-INDONESIA RARE COIN of UCM special show about   
CHRONLOGIC HISTORIC OF THE WILLEM I SILVER COINS.   
1. 1544
In this year Willian had the tittle of Oranje was acquired through his inheritance of the principality of Oranje located South of Valence in France.   
2. 1568
The first King,Willem I was a direct male line descent of John vi, count of Nasau Dillenberg, a younger brother of William of Oranje 9also known as Willem the silent0 who from this year on, had let the Dutch in their 80 years struggle for Independence from Spain.
They came from Dilenburg Germany, home 0f the Nasau family.   
3. 1744
The office of Stadtholder was centralized(one Stadthlder for all province) and becamehereditery for the house of Oranje Nassau.   
4.1772
in August,24th.1772 , Willem Frederich Prince van Oranje Nassau was born in Berlin .   
5.1790
Prior Napolen War, most of the semi independent provinces of Netherland had been led by Stadtholders from the house of Oranje Nassau.   
6.1799
Willem landed in the current North Holland as the part of Anglo-Russian invasion. After several minor battles he was force to leave county again .After the conven-tion of Alkmaar Napoleon gave him some small German principality.   
7.1803
Willem became the Principality of Nassau   
8 1806
(1)Napoleon invaded Germany and Willem support his Prussian relatives.
(2) Willem succeeded as Prince of Oranje after his father died.   
9.. 1813
(1) Napoleon ‘s defeat at Leipzig, the French troops retret to French.
(2)November 1813
Willem landed at scheveningen beach.
(3)December ,6th. The provinsial government offer him the title of King, but williiam refuse ,instead proclaimed himself “SOVERIGN KING’ (comprising certain Provinces).
(4) The Royal Netherlands was original founded in this year. and the French driven out   
8. 1815
(1)Napoleon escape from Elba
(2)March,16th :
(a)William proclaimed himself King of United Kingdom of Netherland, he sent his Son (the future King Willem II) fought as the commander at the Battle of Watrelow and Napoleon Bonaparte exile to St Helena island..
(b)The Netherland has been an independent monarch since this day and has been govrened by members of the house of Oranje nasau.
(c)The new monarch confoirm at the Cong
(d)Willem I became the Duke of Luxembourg.   
(3) June,9th : Willem I became the Grand Duke of Luxembourg.   
9. 1818
The Royal Netherland Kingdom issued Willen de Koning 3 gld silver coin mint utrecht ( very rare coin, many fake ,please compare with the fake coins look at The Nmismatic History (fake Coin) in this blog. )   
10.1840
(1)After Willem I abdiction , he name himself KING WILLIAM FREDERIC COUNT OF NASSAU.
(2)The Royal Netherland kingdom issued WILLEM I DE KONING 2 1/2 gulden 1840 silver coin mint Utrecht.(very rare coin in the very find condition, beware many fake coins)
(3) iNDONESIA ARCHIPHELAGO GAVE BACK TO NETHERLAND AND BECAME  DUTCH EAST INDIE OR NEDERLAND INDIE FIRST ISSUED STUIVER COINS
 
                                               DEI 5 1/16   
                                              DEI 1/8 St.   
                                            DEI 1/4 St.   
(3)Successor King Willem II  IN 1855, NEDERLAND INDIE ISSUED THE NEW nedERLAND INDIE COINS HALF CENT 1855*ill NI 001  AND ONE CENT 1855*ill NI 002
*ill NI 001 (not insttalled  only for premium member)
* ill NI 002
                                          Half cent 1855(?)   
                                           One cent 1855    
 AND ALL THE FOREING COUNTRIES COINS, TOKEN FORM RAFFLES ERA(sINGAPORE MARCHANT TOKEN)*il R-001 until 0030 (premium info only for Premium Member)
, DOEIT PITIS PALEMBANG *ill PP ,ACEH *illl A, CHINA CASH COIN*ill CC, LOCAL CASH COIN FROM BANGKA TIN *ill BT AND SAMBAS MONTRADO,PONTIANK KONGSI *ill PK WERE FORBIDDEN TO CIRCULATED.  
the ned @copyright Dr IWAN S 2010. FOR MORE INFO ONLY FOR PREMIUUM MEMBER, IN YOU ARE THE SERIOUS AND SPECIALIST COLLECTORS PLEASE REGISTERED YOUR NAME AS THE PREMIUJ MEMBER VIA COMMENT.