โดย นิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน
ข่าวการแต่งตั้งสตรีแกร่งชาวอินโดเนเซียขึ้นเป็นกรรมการผู้จัดการธนาคารโลก ไม่เพียงสร้างความปลื้มปิติแก่ชาวอินโดเนเซียเท่านั้น แต่สร้างความปลื้มปิติต่อภูมิภาคมลายูด้วย ดังข่าวที่กล่าวว่านายโรเบิร์ต โซเอลลิค ประธานธนาคารโลก หรือ เวิลด์แบงก์(World Bank) ได้ประกาศแต่งตั้งนางศรี มุลยานี อินดราวาตี (Sri Mulyani Indrawati)ขณะนั้นเป็นรัฐมนตรีการคลังอินโดนีเซีย ดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการธนาคารโลก โดยนางศรี มุลยานี อินทราวาตี ได้รับมอบหมายให้ดูแลการดำเนินงานของธนาคารโลกประจำภูมิภาคลาตินอเมริกาและแคริบเบียน ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ รวมถึงเอเชียตะวันออกและแปซิฟิก
นางศรี มุลยานี อินดราวาตี
นางศรี มุลยานี อินดราวาตี
นางศรี มุลยานี อินดราวาตี
แถลงการณ์ของประธานธนาคารโลกได้กล่าวว่า นางศรี มุลยานี อินดราวาตีมีผลงานที่โดดเด่นในฐานะรัฐมนตรีการคลังของอินโดเนเซีย โดยเธอเป็นผู้ที่มีความรู้ในเชิงลึกทั้งในด้านการพัฒนาและบทบาทของธนาคารโลก ดังนั้น ธนาคารโลกหวังวาการที่เธอได้เข้าร่วมงานในตำแหน่งคณะทำงานอาวุโสจะช่วยนำพาให้ธนาคารโลกก้าวไปข้างหน้าได้อย่างแข็งแกร่ง รวมถึงให้ความช่วยเหลือลูกค้าได้ดีขึ้น และรับมือกับปัญหาต่างๆที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
เรามาทำความรู้จักกับนางศรี มุลยานี อินดราวาตีดีกว่านะครับ
นางศรี มุลยานี อินดราวาตี
เกิดที่เมืองบันดาร์ลัมปุง(Bandar Lampung) จังหวัดลัมปุง(Lampung) เมื่อ 26 สิงหาคม 1962 ปัจจุบันอายุ 47 ปี เป็นสตรีชาวอินโดเนเซีนคนแรกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการผู้จัดการธนาคารโลก โดยเริ่มทำงานตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2010 ก่อนหน้าที่เธอจะรับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการธนาคารโลกนี้ เธอเป็นรัฐมนตรีการคลังของอินโดเนเซีย เธอเป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านเศรษฐกิจ โดยเฉพาะเศรษฐศาสตร์แรงงาน เศรษฐศาสตร์มหภาค เศรษฐศาสตร์การเงินประเทศ/สาธารณะ
นางศรี มุลยานี อินดราวาตี
นางศรี มุลยานี อินดราวาตี
เธอมาจากสายงานนักวิชาการ โดยเป็นอาจารย์สอนเศรษฐศาสตร์อยู่ที่มหาวิทยาลัยอินโดเนเซีย(Universitas Indonesia) มหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศอินโดเนเซีย เธอเป็นศิษย์รักของศาสตราจารย์วิโจโย นีตีสัสโตร (Prof. Widjojo Nitisastro) ผู้เคยเป็นผู้อำนวยการของสถาบันวิจัยที่สังกัดคณะเศรษฐศาสตร์ของมหาวิทยาลัยอินโดเนเซีย สถาบันวิจัยที่ชื่อว่า สถาบันวิจัยเศรษฐกิจและสังคม(Lembaga Penyelidikan Ekonomi dan Masyarakat) ศาสตราจารย์วิโจโย นีตีสัสโตร ถือเป็นสถาปนิกระบบเศรษฐกิจยุคประธานาธิบดีซูฮาร์โต ที่เรียกว่ายุคใหม่ หรือ Order Baru โดยเขาได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการวางแผนพัฒนาประเทศระหว่างปี 1971-1973 และรัฐมนตรีการเศรษฐกิจของอินโดเนเซีย ระหว่างปี 1973-1983
ศาสตราจารย์วิโจโย นีตีซัสโตร
สำหรับนางศรี มุลยานี อินดราวาตีเอง ก็เคยเป็นผู้อำนวยการสถาบันวิจัยเศรษฐกิจและสังคม(Lembaga Penyelidikan Ekonomi dan Masyarakat) เช่นกัน เธอได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีการคลังเมื่อ 5 ธันวาคม 2005 ต่อมาเมื่อ 18 กันยายน 2006 ในงานประชุมประจำปีของธนาคารโลก(World Bank) และ IMF ที่ประเทศสิงคโปร์ เธอได้รับการยกย่องเป็นรัฐมนตรีการคลังที่ดีที่สุดของเอเชียประจำปี 2006 โดยนิตยสาร Emerging Markets และในปี 2007 นิตยสาร Globe Asia ได้ยกย่องให้เธอเป็นสตรีที่มีอิทธิพลที่สุดอันดับสองของอินโดเนเซีย สำหรับปี 2008 เธอได้ยกย่องให้เป็นสตรีที่มีอิทธิพลที่สุดในโลกเป็นอันดับที่ 23 ของนิตยสาร Fobes
นางศรี มุลยานี อินดราวาตี
การศึกษา
-จบปริญญาโทสาขาเศรษฐศาสตร์ ที่มหาวิทยาลัยอินโดเนเซีย ประเทศ อินโดนีเซีย (1981 -- 1986)
-จบปริญญาโท สาขานโยบายเศรษฐกิจ จาก University of lllinois Urbana Champaign สหรัฐ (1988 -- 1990)
-จบปริญญาเอก สาขาเศรษฐศาสตร์ จาก University of lllinois Urbana Champaign สหรัฐ (1990 -- 1992)
ประสบการณ์
-ผู้อำนวยการของสถาบันวิจัยเศรษฐกิจและสังคม(Lembaga Penyelidikan Ekonomi dan Masyarakat) คณะเศรษฐศาสตร์ของมหาวิทยาลัยอินโดเนเซีย
-ผู้ช่วยศาสตราจารย์ University of lllinois Urbana Champaign สหรัฐ ระหว่างปี 1990 -- 1992
-อาจารย์สอนปริญญาตรี –โท-เอกของคณะเศรษฐศาสตร์ของมหาวิทยาลัยอินโดเนเซีย
สิ่งตีพิมพ์
1. Moneter Teori สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยอินโดเนเซีย ปี 1986
2. A Dynamic Labour Supply Model for Developing Country : Consequences for Tax Policy (co author : Jane Leuthold) BEBR – University of lllinois Urbana-Champaign, U.S.A., 1992
3.Prospek Ekonomi สำนักพิมพ์ Gramedia ปี 1995
4. "Ability to Pay minimum wage and Workers Condition in Indonesia", Seminar World Bank Seminar, April 1995.
5. อื่นๆ
นางศรี มุลยานี อินดราวาตี
งานวิจัย
1.Research Demand for Housing, World Bank Project, 1986
2.Kompetisi Perbankan di Jakarta/Indonesia, BNI 1946, 1987
3.Study on Effects on Long-term Overseas Training on Indonesia Participant Trainees. OTO Bappenas – LPEM FEUI, 1998
4.Penyusunan Study Dampak Ekonomi Sosial Kehutanan Indonesia . Departemen Kehutanan – LPEM FEUI, 1992
5.Survei Pemasaran Pelumas Otomotif Indonesia. Pertamina – LPEM FEUI, 1993
6.The Prospect of Automotive Market and Factors Affecting Consumer Behavior on Purchasing Car. PT. Toyota Astra – LPEM FEUI, 1994
7.Inflasi di Indonesia : Fenomena Sisi Penawaran atau Permintaan atau keduanya. Kantor Menko Ekuwasbang – Bulog – LPEM FEUI, 1994
8.Restrukturisasi Anggaran Daerah. Departemen Dalam Negeri – LPEM FEUI, 1995
9.The Evaluation of Degree and non degree training – OTO Bappenas, 1995
10.Fiscal Reform in Indonesia : History and Perspective, 1995
11.Potensi Tabungan Pelajar DKI Jakarta. Bank Indonesia – LPEM FEUI, 1995
12.Studi Rencana Kerja untuk Pelaksanaan Kegiatan Penyusunan Rencana Induk Pengembangan Pariwisata Nasional, Departemen Pariwisata, Pos & Telekomunikasi – LPEM FEUI, 1996
13.Interregional Input-Output (JICA Stage III), 1996
14.Studi Kesiapan Industri Dalam Negeri Memasuki Era Perdagangan Bebas, Departemen Perindustrian dan Perdagangan, LPEM FEUI, 1997
15.Penyusunan Rancangan Repelita VII. Departemen Perindustrian dan Perdagangan , 1997
16.Indonesia Economic Outlook 1998/1999. Indonesia Forum 1998
17.Country Economic Review for Indonesia. Asian Development Bank, 1999
ครอบครัวนางศรี มุลยานี อินดราวาตี
โทนนี่ สุมาร์โตโน (Tonny Sumartono)
สามีชื่อ โทนนี่ สุมาร์โตโน (Tonny Sumartono) เป็นเพื่อนร่วมมหาวิทยาลัยขณะกำลังศึกษาที่มหาวิทยาลัยอินโดเนเซีย
มีบุตรธิดากับโทนนี่ สุมาร์โตโน
1.เดวินตา อิลลีเนีย (Dewinta Illinia) อายุ 19 ปี กำลังศึกษาด้านบริหารธุรกิจที่ประเทศออสเตรเลีย
2.เอดวิน ฮาร์โย อินดราวัน อายุ 15 ปี กำลังเรียนที่โรงเรียนมัธยมอัล-อัซฮาร์ (SMA Al Azhar) กรุงจาการ์ตา
3.ลุกมาน อินดรา ปัมบูดี () อายุ 12 ปี กำลังเรียนที่ SMP Lab School กรุงจาการ์ตา
นางศรี มุลยานี อินดราวาตี เป็นบุตรคนที่ 7 จากทั้งหมด 10 คนของ ศาสตราจารย์ ซัตโมโก (Prof. Drs. Satmoko ) อดีตอธิการบดีของสถาบันอุดมศึกษาที่ชื่อว่า IKIP PGRI Semarang เมืองเซอมารัง เสียชีวิตเมื่อ 25 ธันวาคม 2006 กับ ศาสตราจารย์ ดร. เรตโน ศรีนิงซิห์ ซัตโมโก (Prof Dr Retno Sriningsih Satmoko) อดีตอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยแห่งรัฐเซอมารัง (Universitas Negeri Semarang) เสียชีวิตเมื่อ 11 ตุลาคม 2008
นางศรี มุลยานี อินดราวาตีกอดมารดา
นางศรี มุลยานี อินดราวาตีกับพี่น้องขณะมารดาป่วย
นางศรี มุลยานี อินดราวาตี ดูศพมารดา
Ekonomi/Bisnis
▼
Jumaat, 28 Mei 2010
Khamis, 20 Mei 2010
เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน (Gesang Martohartono) ครูเพลงนามอุโฆษแห่งประเทศอินโดเนเซีย
โดย นิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน
เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน (Gesang Martohartono)บิดาแห่งแนงเพลงเกอรนจงอินโดเนเซีย
ประเทศอินโดเนเซียได้สูญเสียปูชนียบุคคลทางดนตรีอีกคน เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2010 โดยนักร้องและนักแต่งเพลงที่ชื่อว่า เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน (Gesang Martohartono) ได้ลาโลกด้วยวัย 92 ปี ที่ เมืองสุราการ์ตา จังหวัดชวากลาง เขาเกิดเมื่อ 1 ตุลาคม 1917
เขาเป็นชาวอินโดเนเซีย เผ่าชวา เป็นนักร้องที่ได้รับการขานว่า บิดาแห่งแนวเพลงเกอรนจงอินโดเนเซีย
เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน (Gesang Martohartono)
เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน (Gesang Martohartono)
เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน (Gesang Martohartono)
กองทหารเกียรติยศในพิธีศพของเกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน
การเคลื่อนศพของเกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน
เพลงที่สร้างชื่อเสียงให้แก่เขาคือเพลง Bengawan Solo โดยเพลงนี้เป็นที่นิยมทั่วภูมิภาคมลายู หรือเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพลง Bengawan Solo ได้รับการแปลเป็นภาษาต่างๆ ถึง 13 ภาษา รวมทั้งภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่นด้วย
เพลงเบอกาวันโซโล ประเทศญี่ปุ่น
เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน แต่งเพลง Bengawan Solo ในปี 1940 ขณะที่มีอายุได้เพียง 23 ปี แรงจูงใจในการแต่งเพลง Bengawan Solo อันเป็นชื่อของแม่น้ำสายหนึ่งในเมืองโซโล เกิดขึ้นขณะที่เขานั่งอยู่ที่ริมแม่น้ำดังกล่าว เขาใช้เวลาถึง 6 เดือนกว่าเพลง Bengawan Solo จะเสร็จสมบูรณ์ เพลงนี้ยังเคยเป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องหนึ่งของญี่ปุ่น
เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโนริมแม่น้ำเบองาวันโซโล
เพลงต่างๆที่สร้างชื่อเสียงแก่ เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน
1. Bengawan Solo
2. Jembatan Merah
3. Pamitan
4. Caping Gunung
5. Aja Lamis
6. Teirtonadi
เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโนกับนักร้องแนวเกอรนจง
เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน ขณะกำลังอัดเสียง
แผ่นเพลง Begawan Solo
แผ่นเพลง Begawan Solo
แผ่นเพลง Begawan Solo
เนื้อร้องของเพลงเบองาวันโซโล (Bengawan Solo)
Bengawan Solo
Riwayatmu ini
Sedari dulu jadi
Perhatian insani
Musim kemarau
Tak seberapa airmu
Di musim hujan, air
meluap sampai jauh
Mata airmu dari Solo
Terkurung Gunung Seribu
Air mengalir sampai jauh
Akhirnya ke laut
Itu perahu
Riwayatmu dulu
Kaum pedagang selalu
Naik itu perahu
แม่น้ำเบองาวันโซโล
แม่น้ำเบองาวันโซโล
เพลงแนวเกอรนจง (Keroncong)
ความเป็นมาของเพงแนวเกอรนจงนั้น ว่ากันว่าเป็นแนวเพลงที่มาจากเพลงประเภทหนึ่งของชาวโปร์ตุเกสที่รู้จักในชื่อว่า fada เป็นแนวเพลงที่นักเดินเรือและลูกเรือสินค้าชาวโปร์ตุเกสนำมาร้องยังภูมิภาคมลายูตั้งแต่ศตวรรษที่ 6 โดยเริ่มชายฝั่งทะเลเมืองโกอา(Goa) ประเทศอินเดีย แพร่ขยายมาสู่ภูมิภาคมลายู ครั้งแรกมายังเมืองมะละกา ต่อมาลูกเรือชาวเกาะโมลุกะ หรือมาลูกู(Maluku)ได้นำมาร้อง ถึงแม้ว่าในศตวรรษที่ 17 อิทธิพลของโปร์ตุเกสจะลดลง แต่แนวเพลงเกอรนจง (Keroncong)ไม่ได้ลดอิทธิพลแต่อย่างใด
แรกเริ่มแนวเพลงนี้เรียกว่า Moresco เป็นการใช้เครื่องดนตรีที่ใช้สาย แต่เมื่อนำมาใช้ในภูมิภาคมลายู จึงมีการผสมผสานกับเครื่องดนตรีท้องถิ่น ในศตวรรษที่ 19 แนวเพลงเกอรนจงได้รับคงามนิยมทั่วภูมิภาคมลายู
สำหรับในประเทศอินโดเนเซียนั้น แนวเพลงเกอรนจงที่ดังนั้นคือ Keroncong Tugu เป็นการร้องของกลุ่มเชื้อสายบุตรหลานของอดีตลูกเรือชาวโปร์ตุเกสที่มาจากเมืองอัมบน(Ambon) แห่งเกาะโมลุกะ ซึ่งตั้งถิ่นฐานอยู่ในชุมชนที่มีชื่อว่า หมู่บ้านตูกู (Kampong Tugu) ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของกรุงจาการ์ตา ต่อมาได้แพร่ขยายไปยังด้านใต้ของกรุงจาการ์ตาโดยชาวเบอตาวี และหลังจากนั้นได้ขยายไปยังเมืองโซโล(Solo) โดยมีการปรับทำนองให้ช้าลงตามแบบฉบับของชาวชวา
แนวเพลงเกอรนจง
มีการแตกสาแหรกออกเป็นแนวเกอรนจงต่างๆ เช่น
1.Keroncong Beat
เป็นการเริ่มโดย Rudy Pirngadie ที่กรุงจาการ์ตาในปี 1959 เป็นการนำเครื่องดนตรีสำหรับร้องเพลงเกอรนจงมาร้องเพลงป๊อปตะวันตก
2. Campur Sari
เกิดขึ้นที่ Gunung Kidul อยู่ในเขตจังหวัดยอกจยาการ์ตา เมื่อปี 1968 โดยนาย Manthous เป็นการผสมผสานอุปกรณ์เครื่องดนตรีสำหรับเพลงเกอรนจงกับเครื่องดนตรีชวา โดยการผสมผสานนี้เกิดเป็นแนวเพลงที่เรียกว่า Campursari
3. Keroncong Koes-Plus
เป็นแนวเพลงร๊อคในอินโดเนเซีย เริ่มในช่วงปี 1974 เป็นการผสมผสานแนวเพลงเกอรนจงกับแนวเพลงร๊อคของตะวันตก
4. Keroncong Dangdut (Congdut)
เป็นการผสมผสานแนวเพลงเกอรนจงกับแนวเพลงดังดุต (dangdut) บางครั้งจะเรียกย่อเป็น Congdut เกิดขึ้นในช่วงทศวรรษที่ 1980
การใช้ชื่อเพลง Begawan Solo เป็นชื่อทางธุรกิจ
ด้วยความที่เพลง Begawan Solo เป็นเพลงที่ดังมาหลายสิบปี ทำให้มีนักธุรกิจบางกลุ่มใช้ความดังของเพลงมาเป็นแบรนด์สินค้าของตนเอง ดังเช่น ร้านค้าในประเทศสิงคโปร์ หรือแม้แต่ชื่อร้านกาแฟบางแห่ง
ร้าน Begawan Solo ในประเทศสิงคโปร์
เค้กร้าน Begawan Solo
กาแฟ Begawan Solo
เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน (Gesang Martohartono)บิดาแห่งแนงเพลงเกอรนจงอินโดเนเซีย
ประเทศอินโดเนเซียได้สูญเสียปูชนียบุคคลทางดนตรีอีกคน เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2010 โดยนักร้องและนักแต่งเพลงที่ชื่อว่า เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน (Gesang Martohartono) ได้ลาโลกด้วยวัย 92 ปี ที่ เมืองสุราการ์ตา จังหวัดชวากลาง เขาเกิดเมื่อ 1 ตุลาคม 1917
เขาเป็นชาวอินโดเนเซีย เผ่าชวา เป็นนักร้องที่ได้รับการขานว่า บิดาแห่งแนวเพลงเกอรนจงอินโดเนเซีย
เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน (Gesang Martohartono)
เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน (Gesang Martohartono)
เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน (Gesang Martohartono)
กองทหารเกียรติยศในพิธีศพของเกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน
การเคลื่อนศพของเกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน
เพลงที่สร้างชื่อเสียงให้แก่เขาคือเพลง Bengawan Solo โดยเพลงนี้เป็นที่นิยมทั่วภูมิภาคมลายู หรือเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพลง Bengawan Solo ได้รับการแปลเป็นภาษาต่างๆ ถึง 13 ภาษา รวมทั้งภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษาญี่ปุ่นด้วย
เพลงเบอกาวันโซโล ประเทศญี่ปุ่น
เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน แต่งเพลง Bengawan Solo ในปี 1940 ขณะที่มีอายุได้เพียง 23 ปี แรงจูงใจในการแต่งเพลง Bengawan Solo อันเป็นชื่อของแม่น้ำสายหนึ่งในเมืองโซโล เกิดขึ้นขณะที่เขานั่งอยู่ที่ริมแม่น้ำดังกล่าว เขาใช้เวลาถึง 6 เดือนกว่าเพลง Bengawan Solo จะเสร็จสมบูรณ์ เพลงนี้ยังเคยเป็นเพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องหนึ่งของญี่ปุ่น
เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโนริมแม่น้ำเบองาวันโซโล
เพลงต่างๆที่สร้างชื่อเสียงแก่ เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน
1. Bengawan Solo
2. Jembatan Merah
3. Pamitan
4. Caping Gunung
5. Aja Lamis
6. Teirtonadi
เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโนกับนักร้องแนวเกอรนจง
เกอซัง มาร์โตฮาร์โตโน ขณะกำลังอัดเสียง
แผ่นเพลง Begawan Solo
แผ่นเพลง Begawan Solo
แผ่นเพลง Begawan Solo
เนื้อร้องของเพลงเบองาวันโซโล (Bengawan Solo)
Bengawan Solo
Riwayatmu ini
Sedari dulu jadi
Perhatian insani
Musim kemarau
Tak seberapa airmu
Di musim hujan, air
meluap sampai jauh
Mata airmu dari Solo
Terkurung Gunung Seribu
Air mengalir sampai jauh
Akhirnya ke laut
Itu perahu
Riwayatmu dulu
Kaum pedagang selalu
Naik itu perahu
แม่น้ำเบองาวันโซโล
แม่น้ำเบองาวันโซโล
เพลงแนวเกอรนจง (Keroncong)
ความเป็นมาของเพงแนวเกอรนจงนั้น ว่ากันว่าเป็นแนวเพลงที่มาจากเพลงประเภทหนึ่งของชาวโปร์ตุเกสที่รู้จักในชื่อว่า fada เป็นแนวเพลงที่นักเดินเรือและลูกเรือสินค้าชาวโปร์ตุเกสนำมาร้องยังภูมิภาคมลายูตั้งแต่ศตวรรษที่ 6 โดยเริ่มชายฝั่งทะเลเมืองโกอา(Goa) ประเทศอินเดีย แพร่ขยายมาสู่ภูมิภาคมลายู ครั้งแรกมายังเมืองมะละกา ต่อมาลูกเรือชาวเกาะโมลุกะ หรือมาลูกู(Maluku)ได้นำมาร้อง ถึงแม้ว่าในศตวรรษที่ 17 อิทธิพลของโปร์ตุเกสจะลดลง แต่แนวเพลงเกอรนจง (Keroncong)ไม่ได้ลดอิทธิพลแต่อย่างใด
แรกเริ่มแนวเพลงนี้เรียกว่า Moresco เป็นการใช้เครื่องดนตรีที่ใช้สาย แต่เมื่อนำมาใช้ในภูมิภาคมลายู จึงมีการผสมผสานกับเครื่องดนตรีท้องถิ่น ในศตวรรษที่ 19 แนวเพลงเกอรนจงได้รับคงามนิยมทั่วภูมิภาคมลายู
สำหรับในประเทศอินโดเนเซียนั้น แนวเพลงเกอรนจงที่ดังนั้นคือ Keroncong Tugu เป็นการร้องของกลุ่มเชื้อสายบุตรหลานของอดีตลูกเรือชาวโปร์ตุเกสที่มาจากเมืองอัมบน(Ambon) แห่งเกาะโมลุกะ ซึ่งตั้งถิ่นฐานอยู่ในชุมชนที่มีชื่อว่า หมู่บ้านตูกู (Kampong Tugu) ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของกรุงจาการ์ตา ต่อมาได้แพร่ขยายไปยังด้านใต้ของกรุงจาการ์ตาโดยชาวเบอตาวี และหลังจากนั้นได้ขยายไปยังเมืองโซโล(Solo) โดยมีการปรับทำนองให้ช้าลงตามแบบฉบับของชาวชวา
แนวเพลงเกอรนจง
มีการแตกสาแหรกออกเป็นแนวเกอรนจงต่างๆ เช่น
1.Keroncong Beat
เป็นการเริ่มโดย Rudy Pirngadie ที่กรุงจาการ์ตาในปี 1959 เป็นการนำเครื่องดนตรีสำหรับร้องเพลงเกอรนจงมาร้องเพลงป๊อปตะวันตก
2. Campur Sari
เกิดขึ้นที่ Gunung Kidul อยู่ในเขตจังหวัดยอกจยาการ์ตา เมื่อปี 1968 โดยนาย Manthous เป็นการผสมผสานอุปกรณ์เครื่องดนตรีสำหรับเพลงเกอรนจงกับเครื่องดนตรีชวา โดยการผสมผสานนี้เกิดเป็นแนวเพลงที่เรียกว่า Campursari
3. Keroncong Koes-Plus
เป็นแนวเพลงร๊อคในอินโดเนเซีย เริ่มในช่วงปี 1974 เป็นการผสมผสานแนวเพลงเกอรนจงกับแนวเพลงร๊อคของตะวันตก
4. Keroncong Dangdut (Congdut)
เป็นการผสมผสานแนวเพลงเกอรนจงกับแนวเพลงดังดุต (dangdut) บางครั้งจะเรียกย่อเป็น Congdut เกิดขึ้นในช่วงทศวรรษที่ 1980
การใช้ชื่อเพลง Begawan Solo เป็นชื่อทางธุรกิจ
ด้วยความที่เพลง Begawan Solo เป็นเพลงที่ดังมาหลายสิบปี ทำให้มีนักธุรกิจบางกลุ่มใช้ความดังของเพลงมาเป็นแบรนด์สินค้าของตนเอง ดังเช่น ร้านค้าในประเทศสิงคโปร์ หรือแม้แต่ชื่อร้านกาแฟบางแห่ง
ร้าน Begawan Solo ในประเทศสิงคโปร์
เค้กร้าน Begawan Solo
กาแฟ Begawan Solo
Ahad, 16 Mei 2010
เบนิกโน "นอยนอย" ซีเมออน โกฮวงโก อาคีโน ที่ 3 ประธานาธิบดีคนใหม่ของประเทศฟิลิปปินส์
Benigno Simeón Cojuangco Aquino III (born February 8, 1960) is the son of Benigno Aquino Jr., a former senator and Marcos critic and Corazon Aquino, a former Philippine president. A current Senator to the 14th Congress of the Philippines, he served as former Representative of the 2nd District of the province of Tarlac to the 11th, 12th, and 13th Congress of the Philippines (1998-2007).
Biography
Noynoy, as he is fondly called, was born in Manila to a clan of politicians. He is the only son of Benigno Aquino, Jr. and former President Corazon C. Aquino. He has four other siblings, Kristina Bernadette, Maria Elena, Aurora Corazon and Victoria Eliza.
He completed his elementary, secondary, and college education at the Ateneo de Manila University where he obtained a bachelor's degree in Economics in 1981. After graduation, Noynoy became a member of the Philippine Business for Social Progress in 1983. He also worked humbly as a retail sales supervisor for Nike Shoes and as an assistant for advertising and promotion for Mondragon Philippines, both in 1985 to 1986. He also was the vice president and treasurer for Best Security Agency Corporation from 1986 to 1993 and served as executive assistant for administration (1993-1996) and fields service manager (1996-1998) for Central Azucarera Tarlac.
Political career
He is a member of the Liberal Party, the banner of the political opposition. He ran for congressman in 1998 and served as Representative of the 2nd District of Tarlac until 2007. During his term, he served on numerous committees, namely:
Civil, Political & Human Rights (Vice-Chairman), Public Order & Security, Transportation & Communications, Agriculture, Banks & Financial Intermediaries, Peoples’ Participation, Suffrage and Electoral Reforms, Appropriations, Natural Resources, Trade & Industry (11th Congress)
Civil, Political & Human Rights, Good Government, Public Order & Security, Inter-Parliamentary Relations & Diplomacy (12th Congress)
Banks & Financial Intermediaries, Energy, Export Promotion, Public Order & Safety (13th Congress)
He was then elected as Senator in the 2007 midterm elections under the Genuine Opposition, a coalition comprising a number of parties, including his own Liberal Party. With more than 14.3 million votes, Aquino's tally was the sixth highest of the 37 candidates for the 12 vacant seats elected from the nation at large. He assumed his new office on June 30, 2007.
2010 presidential bid
Aquino was uncertain if he would run for the presidency and went to the Carmelite Convent in Zamboanga on 4 September 2009 for a few days of spiritual retreat. He said he wanted to be enlightened before making a decision.
After his retreat, Aquino made the announcement of his bid for presidency on September 9, 2009 at the Club Filipino in Greenhills, San Juan. On 28 November 2009, Aquino filed his certificate of candidacy (CoC) along with Roxas as his vice president, under the Liberal Party banner.
According to a Special Survey by the Social Weather Stations conducted from 5 to 6 September 2009 in the National Capital Region (NCR), Pangasinan province, Central Luzon (Region 3), and in some parts of Southern Tagalog (Region 4-A), Aquino was preferred by 50% of the 1,200 respondents from a pre-selected list of presidential candidates.
He also held a wide margin in the 8 to 10 December 2009 survey conducted by Pulse Asia among 1,800 respondents in a nationwide pre-election survey, with 45% while top presidential rival Manny Villar received 23%. However, the gap was closed in the 22 to 26 January 2010 survey that yielded neck-and-neck results, 37% of the 1,800 respondents favored Aquino while 35% chose Villar.
Campaign manifesto
Aquino's platform is grounded on the legacy that his parents left to the Filipinos: democracy and democratic process, which he aims to preserve by maintaining transparency, personal and institutional integrity, honesty, and good governance. He also campaigns for transformational leadership, government service, gender equality, peace and order, and environment protection.
In a forum with Blogwatch.ph members on 6 February 2010, Aquino elaborated on his plans for the country should he win the presidency, highlighting the importance of job generation, especially among the youth, and health and judicial reform.
Government service
Aquino's would-be priority departments are the Department of Finance, the Department of Social Welfare and Development, and the Department of Justice, which he cited as a personal preference. According to Aquino, the Philippine judicial system's conviction rate is a mere 18% of all cases filed as compared to America’s 85% and Japan’s 95%, resulting in uncertainty of punishment for offenders. Through judicial reform, Aquino believes that deficiencies in the justice system shall be addressed, although this is not a promise of a perfect system. The reform could also provide that members of the justice system be compensated accordingly in exchange for performing well and to give some measure to insulate them from corruption.
While he cannot name any probable appointees, Aquino said that his Cabinet is open to those who have proven track records and those who have not been given the opportunities but have exhibited abilities that commensurate to the positions. He also noted that in order to undertake much of the changes in the next six years, he and Roxas will each focus on separate sets of agencies.
Aquino also considers beefing up the government positions, especially among appointees. According to him, there are just too many undersecretaries, assistant secretaries, and some unnecessary positions with corresponding stocks whose performance do not justify the budget allotted to them.
Education and labor
Aquino believes that education reform and job generation go hand-in-hand, thus, the shift from the existing 10-year basic education program in the country to 12 years and more (as implemented in most countries) is seen as a way to achieve both. The move would necessitate an education-related revamp, i.e. classroom construction, which in turn would provide jobs. Aquino estimated that the construction would amount between P20 and P40 billion, which, he said, is a mere pittance as compared to the P280 billion that is lost yearly. With the said move, Aquino expects to alleviate the plight of students who find it difficult to learn since most are cramped with three subjects in a single class period and given error-ridden textbooks. If students are given enough space and time to dedicate to further learning, they can hone more skills needed to prepare them for jobs that match the country's potential growth areas, such as business process outsourcing (BPO), information technology (IT), and tourism.
He maintained that if the Philippines, which is one of the last three countries to maintain a 10-year basic education program, does not begin the reform soon, more students are likely to drop out of school. Although the endeavor may take about 10 years, Aquino posits that this will diminish the rate of workers who subsist on the minimum wage just because they were not able to acquire the skills needed to land them opportunities in the said potential growth areas. He also pointed out the Department of Labor and Employment’s role in providing forecasts on the career trend here and abroad, so as to avoid “acting on educational plans that serve the needs of yesterday.”
Although the Constitution mandates that the single biggest allocation in the national budget should go to education, Aquino said that the appropriation is still dependent on the budget deficit. Furthermore, he said he would probably consolidate the Department of Education, Commission on Higher Education, and Technical Education and Skills Development Authority under one umbrella body to coordinate the budget and expenses.
Overseas Filipino workers
Aquino sees the probability of re-assessing the performance of the Philippine Overseas Employment Administration (POEA) and the Overseas Workers Welfare Administration (OWWA) to determine if there is a need to merge them into one bureau. He added that he would propel the two agencies generate more opportunities in the country and turn overseas employment from necessity to choice.
Reproductive health bill
Aquino said that it confounds him why he is always associated with the Reproductive Health (RH) Bill and reiterated that he is neither an author nor a co-author, much less did he sign the committee report regarding the bill. For him, the RH bill is a dead venture since the Congress is no longer in session for the upcoming elections. He pointed that a better resolve is responsible parenthood and the state's role is simply to remind the parents of their obligations. Aquino also puts forth the establishment of an ecumenical forum among religions to develop the values and conscience of the people, and help them have an informed decision.
Price control
Aquino said that although government intervention in price control propels disruption between sellers and buyers who normally make the best decisions on what, when, and how much to sell, the government has to protect the most vulnerable in the trade, the consumers. He believes in a free market where the buyer and the seller will make the best decision as to how to allocate the resources in a country, and government intervention should only arise when there are abuses, e.g. monopoly and oligopoly.
If elected, he would look into the oil deregulation law. According to him, the oil price trend is rigged with collusion among big companies who just take turns in dictating the price trend, often “for the same exact amount, at the exact same time” despite having different sources. With this tendency, even the small players who maintain a certain margin between the Big Three and themselves are, at times, influenced.
Taxes
The Liberal Party standard-bearer also opposes tax hike, saying that “while the government is not able to collect the taxes that are already mandated by the law, additional taxes are not necessary.” Instead, he proposes eventual lowering of taxes, to which the private sector can respond faster that will result in more disposable income for investment and retainment of the same revenues needed to sustain the government’s social services.
Furthermore, Aquino slams sin taxes, saying that they are regressive taxes that have a greater effect on those who can least afford the taxes, citing Filipinos below the poverty line who drink to forget their problems. Instead, he would address the health issues first and mobilize the Department of Health to be at the forefront of the campaign in furthering advocacies and public education on the effects of smoking and drinking. Empowerment of the local government units and communities to implement existing laws, e.g. total ban of smoking indoors, is also seen as an option.
Environment and natural resources
For Aquino, discussing issues on the environment touches more than the conservation of forests since there has to be a balance between the need to preserve the environment and the need to provide jobs, as is the cases of Mt. Diwalwal and Marinduque where mining proved to be detrimental to the area and its people. Aquino also posited that the Department of Environment and Natural Resources should be a more pro-active department as opposed to the popular perception that its performance is solely on merit of economic activities.
Hacienda Luisita and agrarian reform
Addressing the allegations that the Cojuangco family would not yield the land of Hacienda Luisita because of its economic value, Aquino said that if Stock Distribution Option (SDO, a non-land transfer program where an agrarian reform beneficiary gets dividends and proportionate share to the earnings of the land) were to be removed, all the land belongs to their clan and can be sold if the whole issue simply boils down to profiteering.
“ Even at a hundred pesos per square meters, that's more than 4,500 hectares in question, about 10,000 square meters per hectare, that's about P4.5 billion that will go to our pockets. By selling it, that would take care for the debt that we owe. So if money is all that matters here, it would behoove us to just say “Let’s just resort to voluntary offer to sell, then I won’t be encumbered politically, no more issue can be thrown at us.” But if we do that, these nearly 10,000 farmer beneficiaries will be the ones dividing 4,500 hectares, and living on a single hectare is not feasible for an individual farmer. On top of that, payments for the land will be under amortization for a number of years. Doing so just burdens these farmer beneficiaries. ”
Aquino said that he has asked the rest of the Cojuangcos to find ways and means to transfer the assets free of debt. Should he become President, he would push for the advancement of the agrarian reform where transfer of ownership shall have a finite quantity, i.e. knowing how many and to whom the land ownerships should be transferred, and reach the stage when we can finally distribute.
“ What I’m after is to reach the end, the distribution, since all the allotted resources and invested funds for the program can go to agricultural extension services, irrigation, and so many things that will allow the farmer beneficiary to maximize these assets transferred to them. I have to get all the 10,000 to agree to that scheme. ”
Sports
Aside from education and job competence, Aquino also hopes that the Philippines can produce more boxing champions by investing more in the sport “that has more potential” than basketball, which has long fascinated Filipino sports enthusiasts.
Personal life
Noynoy Aquino has been rumored to have had past relationships with Korina Sanchez, broadcast journalist Bernadette Sembrano and actress Diana Zubiri. At age 50, Aquino is in a relationship with Valenzuela councilor Shalani Soledad.
Jumaat, 14 Mei 2010
ครบรอบ 64 ปี การจัดตั้งพรรคอัมโน (UMNO)
โดย นิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน
ตราสัญญลักษณ์พรรคมลายูสมัคคีแห่งชาติ
ธงประจำพรรคมลายูสมัคคีแห่งชาติ
อาคารสำนักงานใหญ่พรรคมลายูสมัคคีแห่งชาติ
ในวันที่ 11 พฤษภาคม 2010 เป็นวันครบรอบ 64 ปีของการก่อตั้งพรรคอัมโน(UMNO) ชื่อของพรรคอัมโนนี้ในภาษาไทย มีการแปลชื่อพรรคแตกต่างกัน บางคนใช้ชื่อพรรคอัมโนว่า พรรคสหมาเลย์แห่งชาติ แต่ผู้เขียนขอใช้ชื่อพรรคอัมโนในอีกชื่อหนึ่ง คือพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ โดยใช้ชื่อพรรคในภาษามลายูเป็นเกณฑ์ นั้นคือ Pertubuhan Kebangsaan Melayu Bersatu โดยมีคำแปลดังนี้ Pertubuhan – องค์กร, Kebangsaan – แห่งชาติ, Melayu – มลายู และ Bersatu – สามัคคี
พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ มีชื่อเป็นภาษามลายูว่าPertubuhan Kebangsaan Melayu Bersatu เขียนด้วยอักขระยาวีดังนี้ ڤرتوبوهن كبڠسأن ملايو برساتو พรรคอัมโนมีชื่อย่อในภาษามลายูว่า Pekembar และพรรคมีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า United Malay National Organisation มีชื่อย่อในภาษาอังกฤษว่า UMNO สำหรับชื่อย่อของพรรคในภาษาอังกฤษนั้นเป็นที่ยอมรับและได้รับความนิยมมากกว่าชื่อย่อของพรรคในภาษามลายู ดังนั้นเมื่อสาธารณชนจะกล่าวถึงพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ มักจะใช้ชื่อย่อว่า พรรคอัมโน และพรรคอัมโนนี้ถือเป็นพรรคแกนหลักของพรรคแนวร่วมแห่งชาติ (National Front) หรือ Barisan Nasional ซึ่งประกอบด้วยพรรคการเมืองต่างๆ 13 พรรคด้วยกัน พรรคแนวร่วมแห่งชาติเป็นพรรครัฐบาลสหพันธรัฐ
โครงสร้างพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ
พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ เป็นพรรคการเมืองที่ใช้ระบบพรรคแบบพรรคมวลชน หรือ Mass Party
ประธานสมัชชาพรรค หรือ Pengerusi Tetap (Permanent Chairman) คือ
ดาโต๊ะปาดูกา ฮัจญี บัดรูดดิน บินอามีรุลดิน (Dato' Paduka Hajji Badruddin bin Amiruldin )
ประธานพรรค หรือ Presiden Parti (President) คือ
ดาโต๊ะศรี มูฮัมหมัดนายิบ ตนอับดุลราซัค (Datuk Sri Mohd Najib Tun Abdul Razak)
รองประธานพรรค Timbalan Presiden Parti (Deputy President) คือ
ตันศรี ดาโต๊ะ ฮัจญีมุหยิดดิน บินมูฮัมหมัดยัสซิน (Tan Sri Dato' Haji Muhyiddin bin Mohd. Yassin)
ประธานฝ่ายเยาวชน คือ
นายคัยรี ยามาลุดดิน (Khairy Jamaluddin)
ประธานฝ่ายสตรี คือ
ดาโต๊ะศรี ชาห์รีซัต อับดุลยาลิล (Datuk Seri Shahrizat Abdul Jalil)
ประธานฝ่ายเยาวชนสตรี คือ
ดาโต๊ะโรสนะห์ ฮัจญีอับดุลราชิดชีร์ลิน (Datuk Rosnah Haji Abdul Rashid Shirlin )
สมาชิกพรรคพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ
พรรคพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติมีสมาชิกจนถึงปัจจุบัน 3,159,484 คน
ประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ
1. ดาโต๊ะ ออนน์ บินยะอาฟาร์ (Dato’ Onn bin Jaafar) ดำรงตำแหน่งระหว่าง 11 พฤษภาคม 1946 - 26 สิงหาคม 1951
ดาโต๊ะ ออนน์ บินยะอาฟาร์ (Dato’ Onn bin Jaafar)
2. ตนกูอับดุลราห์มาน ปุตรา อัลฮัจญ์ (Tunku Abdul Rahman Putra Al-Haj)ดำรงตำแหน่งระหว่าง 26 สิงหาคม 1951 - 24 มกราคม 1971
ตนกูอับดุลราห์มาน ปุตรา อัลฮัจญ์ (Tunku Abdul Rahman Putra Al-Haj)
3. ตนอับดุลราซัค ดาโต๊ะฮุสเซ็น (Tun Abdul Razak Dato' Hussein)ดำรงตำแหน่งระหว่าง 24 มกราคม 1971 - 14มกราคม 1976
ตนอับดุลราซัค ดาโต๊ะฮุสเซ็น (Tun Abdul Razak Dato' Hussein)
4. ตนฮุสเซ็น ออนน์ (Tun Hussein Onn)ดำรงตำแหน่งระหว่าง 14 มกราคม 1976 - 28 มิถุนายน 1981
ตนฮุสเซ็น ออนน์ (Tun Hussein Onn)
5. ตน ดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด (Tun Dr. Mahathir bin Mohamad)ดำรงตำแหน่งระหว่าง 28 มิถุนายน 1981 - 30 ตุลาคม 2003
ตน ดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด (Tun Dr. Mahathir bin Mohamad)
6. ตนอับดุลลอฮ บินฮัจญีอาหมัดบาดาวี (Tun Abdullah bin Haji Ahmad Badawi)ดำรงตำแหน่งระหว่าง 30 ตุลาคม 2003 - 28 มีนาคม 2009
ตนอับดุลลอฮ บินฮัจญีอาหมัดบาดาวี (Tun Abdullah bin Haji Ahmad Badawi)
7. ดาโต๊ะศรีมูฮัมหมัดนายิบ บินตนอับดุลราซัค (Dato' Sri Mohd Najib bin Tun Haji Abdul Razak)ดำรงตำแหน่งระหว่าง 28 มีนาคม 2009
เพลงประจำพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ(UMNO)
Bersatu, Bersetia, Berkhidmat
Bersatu Kita Bersatu
Dengan Setia Berganding Bahu
Jiwa Teguh Berpadu
Kita Rumpun Melayu
Bersama Kita Bersama
Mendukung Hasrat Semua
Berjasa Pada Bangsa
Agama Dan Negara
Lambang Kita Yang Gagah
Dipandang Mulia Dan Indah
"Bersatu, Bersetia, Berkhidmat"
ปีกเศรษฐกิจของพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ
พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติมีปีกทางเศรษฐกิจอยู่ 2 ส่วนคือ
1.กิจการทางธุรกิจที่ดำเนินการในนามของพรรค
กิจการทางธุรกิจของพรรค ที่ให้บุคคลอื่น หรือองค์กรอื่นถือหุ้นแทนนั้นมีเป็นจำนวนมาก เช่นการถือหุ้นในหนังสือพิมพ์ สถานีโทรทัศน์ และกิจการธุรกิจอื่นๆ
2.กิจการทางธุรกิจที่ดำเนินการโดยสมาชิกพรรค
ด้วยสมาชิกพรรคมีเป็นจำนวนหลายล้านคน จึงมีการจัดตั้งหน่วยเศรษฐกิจของสมาชิกพรรค แรกเริ่มมีการจัดตั้งในรูปแบบของสหกรณ์ โดยใช้ชื่อว่า Kopersi Usaha Bersatu ต่อมาสหกรณ์แห่งนี้ได้ไปซื้อบริษัทในตลาดหลักทรัพย์สำหรับภูมิบุตรแห่งหนึ่งชื่อว่า Permodalan Perak Berhad และเปลี่ยนชื่อบริษัทดังกล่าวเป็น KUB Malaysia Berhad
สำหรับกิจการทางธุรกิจของกลุ่มสมาชิกพรรคนี้มีมากมาย เช่น มหาวิทยาลัยตนอับดุลราซัค (ร่วมเปิดการเรียนการสอนระดับปริญญาโททางไกลกับมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ กรุงเทพฯ) นอกจากนั้นมีบริษัทต่างๆดังนี้
1.KUB Telekomunikasi Sdn Bhd (KUBTel)
2.KUB-Fujitsu Telecommunications (Malaysia) Sdn Bhd
3.Empirical Systems (M) Sdn Bhd
4.KUB Development Berhad (KUBD)
5.Bina Alam Bersatu Sdn Bhd
6.Peraharta Sdn Bhd
7.KUB Power Sdn Bhd
8.KUB Realty Sdn Bhd
9.KUB Builders Sdn Bhd
10.Precast Products Sdn Bhd
11.A&W (Malaysia) Sdn Bhd
12.A&W Restaurants (Thailand) Co. Ltd.
สำหรับบริษัทนี้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ A&W ในประเทศไทย เดิมบริษัทนี้มีบรรษัทพัฒนาเศรษฐกิจแห่งรัฐตรังกานูเป็นเจ้า ต่อมาได้ขายหุ้นให้ทาง KUB Malaysia Berhad
13.KUB Agrotech Sdn Bhd
14.KUB Sepadu Sdn Bhd
15.Summit Petroleum (Malaysia) Sdn Bhd
16.KUB-Berjaya Enviro Sdn Bhd
17.อื่นๆ
มหวิทยาลัยตนอับดุลราซัค
มหวิทยาลัยตนอับดุลราซัค
ประวัติความเป็นมาของพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ
ประวัติยุคดาโต๊ะออนน์ บินยะอาฟาร์
ในการประชุมสมัชชาที่เรียกว่า สภาชาวมลายูแห่งมาลายา ครั้งที่ 1 (Kongres Melayu SeMalaya Pertama) ที่จัดโดยสมาคมชาวมลายูแห่งรัฐสลังงอร์(Persatuan Melayu Selangor) ซึ่งจัดที่คลับสุลต่านสุไลมาน เขตกำปงบารู กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อวันที่ 1-4 มีนาคม 1946 มีองค์กรของชาวมลายูส่งตัวแทนเข้าร่วมประชุมทั้งหมด 41 องค์กร การประชุมครั้งนี้ดาโต๊ะออนน์ บินยะอาฟาร์ จากสมคมชาวมลายูแห่งรัฐโยโฮร์ (Persatuan Melayu Johor) ได้รับเลือกให้เป็นประธานของการประชุม มติของที่ประชุมครั้งนี้คือ
1. จัดตั้งองค์กรมลายูสามัคคีแห่งชาติ
2. ต่อต้านการจัดตั้งสหภาพมาลายา(ตามแผนการของอังกฤษ)
3. มีการจัดตั้งกองทุนการศึกษาของชาวมลายู
มีการคัดเลือกคณะกรรมการชุดหนึ่งประกอบด้วย ดาโต๊ะออนน์ บินยะอาฟาร์(Dato Onn Jaafar), ดาโต๊ะปังลีมาบูกิตกันตัง(Dato Panglima Bukit Gantang), ดาโต๊ะนิอาหมัด กามิล (Dato Nik Ahmad Kamil), ดาโต๊ะฮัมซะห์ อับดุลลอฮ (Dato Hamzah Abdullah) และ นายซัยนาลอาบีดิน อาหมัด หรือ ซาอาบา (Encik Zainal Abidin Ahmad @ Za'aba) เพื่อร่างธรรมนูญของพรรคองค์กรมลายูสามัคคีแห่งชาติ อันจะนำธนี้เข้าที่ประชุมสมัชชาครั้งต่อไป
สำหรับแผนการจัดตั้งสหภาพมาลายาของอังกฤษนั้น แม้ว่าจะได้รับการต่อต้านจากชาวมลายู แต่อังกฤษก็ยังคงเดินเรื่องในการจัดตั้งสหภาพมาลายา จนเมื่อวันที่ 1 เมษายน 1946 อังกฤษก็ได้จัดตั้งสหภาพมาลายาจนสำเร็จ ชาวมลายูและองค์กรมลายูต่างๆได้ต่อต้านและไม่ให้ความร่วมมือในการจัดตั้งสหภาพมาลายา จนเมื่อ 11 พฤษภาคม 1946 จึงได้มีการประชุมสภาชาวมลายูครั้งที่ 3 (Kongres Melayu SeMalaya Pertama)
และการประชุมใหญ่ของพรรคอัมโน ที่พระราชวังโยโฮร์บาห์รู รัฐโยโฮร์ ในการประชุมครั้งนั้นมีการรับหลักการของธรรมนูญของพรรคอัมโน นั้นคือวันที่ถือว่าเป็นวันก่อตั้งที่เป็นทางการของพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ หรือพรรคอัมโน
จะเห็นได้ว่าการเกิดขึ้นของพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาตินั้น เกิดจากการรวมตัวขององค์กรชาวมลายู ดังนั้นในช่วงแรกๆสมาชิกของพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ จึงประกอบด้วยองค์กรต่างๆของชาวมลายู ต่อมามีการเปลี่ยนสถานภาพสมาชิกจากองค์กรของชาวมลายูมาเป็นสมาชิกตัวบุคคล ภายหลังดาโต๊ะออนน์ บินยะอาฟาร์ได้เสนอให้มีการเปลี่ยนสถานภาพของสมาชิกพรรค จากการผูกขาดเฉพาะชาวมลายู แต่ให้มีการเปิดกว้าง โดยไม่จำกัดเชื้อชาติ ศาสนา หรือภาษาพูด แต่ขอเสนอดังกล่าวได้รับการต่อต้าน ดังนั้นในการประชุมใหญ่ครั้งที่ 6 ของพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ เมื่อ 25-26 สิงหาคม 1951 ดาโต๊ะออนน์ บินยะอาฟาร์ จึงได้ลาออกจากพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติไปจัดตั้งพรรคการเมืองใหม่ เมื่อ 26 สิงหาคม 1951 โดยพรรคการเมืองใหม่นี้ใช้ชื่อว่า พรรคเอกราชแห่งมาลายา หรือ Independence of Malaya Party เป็นพรรคที่สมาชิกไม่จำกัด เชื้อชาติ ศาสนา และภาษาพูด ต่อมาดาโต๊ะออนน์ บินยะอาฟาร์ลาออกจากพรรคนี้ไปจัดตั้งพรรคใหม่ใช้ชื่อว่า พรรคแห่งชาติ หรือ Parti Negara (National Party)
ประวัติยุคตนกูอับดุลราห์มาน ปุตรา
หลังจากดาโต๊ะออนน์ บินยะอาฟาร์ ได้ลาออกจากประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติแล้ว ตนกูอับดุลราห์มาน ปุตราได้รับเลือกเป็นประธานพรรคคนใหม่ ในยุคตนกูอับดุลราห์มาน ปุตราเป็นยุคที่มาเลเซียได้รับเอกราช โดยได้รับเอกราชเมื่อ 31 สิงหาคม 1957 ตนกูอับดุลราห์มาน ปุตราเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของมาเลเซีย ซึ่งขณะนั้นยังใช้ชื่อว่าสหพันธรัฐมาลายา ต่อมาตนกูอับดุลราห์มาน ปุตราเป็นผู้เสนอแนวคิดการจัดตั้งประเทศใหม่ โดยการรวมสหพันธรัฐมาลายา บรูไน สิงคโปร์ รัฐซาบะห์ และรัฐซาราวัค เข้าเป็นประเทศมาเลเซีย ต่อมาบรูไนถอนตัวก่อนการรวมประเทศ ประเทศใหม่นี้เกิดขึ้นเมื่อ 16 สิงหาคม 1963
ต่อมาในวันที่ 9 สิงหาคม 1965 สิงคโปร์ได้ถอนตัวออกจากประเทศมาเลเซียและประกาศเอกราชเป็นประเทศสิงคโปร์ ในยุคตนกูอับดุลราห์มาน ปุตราเกิดเหตุการณ์ความขัดแย้งระหว่างเชื้อชาติ ทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนหนึ่งเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อ 13 พฤษภาคม 1969 และในปี 1971 ตนกูอับดุลราห์มาน ปุตราได้ลาออกจากประธานพรรคพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติและนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย
ยุคตนอับดุลราซัค
เมื่อตนกูอับดุลราห์มาน ปุตราลาออกจากประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติและนายกรัฐมนตรีมาเลเซียแล้ว ตนอับดุลราซัคได้รับเลือกเป็นประธานพรรคพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติคนที่ 3 และนายกรัฐมนตรีมาเลเซียคนที่ 2 ในยุคตนอับดุลราซัคนี้ หลังจากเกิดเหตุการณ์ “13 พฤษภาคม 1969 ” ทางรัฐบาลได้มีการประกาศนโยบายเศรษฐกิจใหม่ หรือ Dasar Ekonomi Baru (New Economy Policy) เพื่อปรับโครงสร้างทางสังคม เศรษฐกิจของมาเลเซียให้มีความสมดุล และเป็นธรรมมากขึ้น ตนอับดุลราซัคเสียชีวิตในปี 1976
ยุคตนฮุสเซ็น ออน์
หลังจากตนอับดุลราซัคเสียชีวิตแล้ว ตนฮุสเซ็น บุตรชายดาโต๊ะออนน์ บินยะอาฟาร์ ประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติคนแรก ก็ก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติคนที่ 4 และนายกรัฐมนตรีมาเลเซียคนที่ 3 ในยุคตนฮุสเซ็น ออน์ได้มีการประกาศจัดตั้งกองทุนการเงินที่เรียกว่า Amanah Ikhtiar Nasional การจัดตั้งกองทุนการเงินนี้เพื่อระดมทุนจากชาวภูมิบุตร (ชาวมลายู, ชาวพื้นเมืองดั้งเดิม, ชาวพื้นเมืองรัฐซาบะห์, ชาวพื้นเมืองรัฐซาราวัค รวมทั้งชาวมาเลเซียเชื้อสายชาวไทยพุทธที่ถือเป็นส่วนหนึ่งของชาวภูมิบุตรด้วย) อันจะเป็นการยกฐานะทางเศรษฐกิจของชาวภูมิบุตรให้มีสัดส่วนที่สมดุลมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับชาวมาเลเซียเชื้อสายอื่นๆ
ยุคดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัด
ดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัดเป็นประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติคนที่ 5 และนายกรัฐมนตรีมาเลเซียคนที่ 4 ในยุคดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัด ถือเป็นยุคที่พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติยุบศาลสั่งให้ยุบพรรค การยุบพรรคนี้เกิดขึ้นหลังจากมีการแข่งขันชิงตำแหน่งประธานพรรคระหว่างดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัด นายกรัฐมนตรีกับเต็งกูราซาลี เต็งกูฮัมซะห์ อดีตรัฐมนตรีการคลัง ในปี 1987 ในการแข่งขันครั้งนั้นปรากฏว่าดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัดชนะการเลือกตั้งด้วยคะแนนไม่มากนัก คือ ดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัด ได้ 761 คะแนน ส่วนเต็งกูราซาลี เต็งกูฮัมซะห์ได้ 718 คะแนน ต่างกันเพียง 43 คะแนน มีสมาชิกพรรคจำนวนหนึ่งไม่พอใจผลการเลือกตั้งในครั้งนี้ด้วยเห็นว่ามีบางสิ่งไม่ถูกต้อง สมาชิกพรรคจำนวน 11 คน ที่ต่อมารู้จักในนามของ “UMNO 11” ได้ทำการฟ้องศาลในเดือนมิถุนายน 1987 ให้การเลือกตั้งประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติครั้งนั้นเป็นโมฆะ และให้มีการเลือกตั้งใหม่ โดยให้เหตุผลว่า มีสาขาพรรคย่อย(Cawangan)จำนวนถึง 30 แห่งใน 4 สาขาพรรคระดับเขต(Bahagian) ที่ยังไม่ได้รับการจัดตั้งอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ดังนั้นถือว่าสาขาพรรคย่อย(Cawangan)เหล่านั้นย่อมผิดกฎหมาย และในการเลือกตัวแทนพรรค(Perwakilan)ในสาขาพรรคระดับเขต(Bahagian)ดังกล่าวเพื่อไปลงคะแนนในการเลือกประธานพรรค ย่อมถือว่าผิดกฎหมายด้วย และการเลือกประธานพรรคที่ผ่านมาย่อมเป็นโมฆะ ขอให้ศาลสั่งให้มีการเลือกตั้งประธานพรรคใหม่ แต่ในการตัดสินของศาลสูงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 1988 ผู้พิพากษาฮารุน ฮาชิม (Harun Hashim) ได้ตัดสินให้พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ หรือพรรคอัมโน เป็นพรรคที่ผิดกฎหมาย ต้องยุบพรรค ด้วยเหตุผลที่มีสาขาพรรคย่อย(Cawangan) ไม่ได้จดทะเบียน และถือเป็นที่ผิดกฎหมายตาม พ.ร.บ. การจัดตั้งองค์กรปี 1966 (Akta Pertubuhan 1966)
ต่อมาดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัดได้จัดตั้งพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติขึ้นมาใหม่ เมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 1988 ใช้ชื่อว่า พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติใหม่(United Malay National Organisation - UMNO Baru) ส่วนฝ่ายเต็งกูราซาลี เต็งกูฮัมซะห์ ได้ไปจัดตั้งพรรคของตฝ่ายตัวเอง ใช้ชื่อว่า พรรคสปิริต 46 (Parti Semangat 46) เป็นพรรคที่สืบทอดอุดมการณ์ของพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติที่จัดตั้งขึ้นในปี 1946 การแตกแยกของพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติในครั้งนี้ทำให้พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติอ่อนแอลง ต่อมาพรรคสปิริต 46 (Parti Semangat 46) ได้ร่วมกับพรรคปาส(Parti PAS)และพรรคการเมืองอื่นๆอีก 2 พรรคสามารถเป็นรัฐบาลท้องถิ่นของรัฐกลันตัน ภายหลังพรรคสปิริต 46 (Parti Semangat 46)ได้กลับมารวมกับพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติอีกครั้ง แต่อย่างไรก็ตามนับตั้งแต่นั้นจนถึงปัจจุบันรัฐกลันตันก็ตกอยู่ภายในอำนาจของพรรคปาส
นอกจากนั้นในยุคดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด เกิดความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับฝ่ายพระราชาธิบดีและบรรดาเจ้าเมือง ด้วยบรรดาเจ้าเมืองบางส่วนได้กระทำผิดหลายประการ ทำให้ฝ่ายรัฐบาลต้องการลดอำนาจของฝ่ายพระราชาธิบดีและบรรดาเจ้าเมือง จนเกิดการแก้ไขรัฐธรรมนูญของมาเลเซีย มีผลทำให้อำนาจบางส่วนของฝ่ายพระราชาธิบดีและบรรดาเจ้าเมืองลดลง โดยสภาผู้แทนราษฎรมีการลงมติผ่านการแก้ไขรัฐธรรมนูญเมื่อ 19 มกราคม 1993และวุฒิสภาลงมติผ่านการแก้ไขรัฐธรรมนูญเมื่อ 20 มกราคม 1993 และหลังจากนั้นมีการบัญญัติการแก้ไขลงในรัฐธรรมนูญในเดือนมีนาคม 1993 ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งนี้ ฝ่ายพระราชาธิบดีและบรรดาเจ้าเมืองเมื่อกระทำผิดกฎหมายสามารถถูกดำเนินคดีได้ โดยมีการจัดตั้งศาลพิเศษขึ้นมา และมีการแก้ไขพ.ร.บ. การปลุกระดม ปี 1948 (Akta Hasutan 1948 หรือ 1948 Sedition Act) โดยอนุญาตให้ประชาชนทั่วไปสามารถวิพากษ์วิจารณ์พระราชาธิบดีและบรรดาเจ้าเมืองได้
ในปี 1998 ดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด เกิดความขัดแย้งกับดาโต๊ะศรี อันวาร์ อิบราฮิม (Datuk Seri Anwar Ibrahim) ผู้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี จนดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด ปลดดาโต๊ะศรีอันวาร์ อิบราฮิม ออกจากตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี และต่อมาดาโต๊ะศรีอันวาร์ อิบราฮิม ได้จัดตั้งพรรคความยุติธรรมของประชาชน (Parti KeAdilan Rakyat) โดยมีดาโต๊ะศรี ดร. (Datuk Seri Dr. Wan Azizah Wan Ismail) ผู้ภรรยาเป็นหัวหน้าพรรค
ถึงแม้ว่าดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด จะมีภาพของนักเผด็จการอยู่บ้าง แต่ด้วยการที่เป็นคนเด็ดขาด มองการณ์ไกลนี้เอง สามารถพัฒนาประเทศมาเลเซีย จนรุกหน้า บางครั้งอาจล้ำหน้ากว่าบางประเทศที่เคยก้าวหน้ากว่าประทศมาเลเซียด้วยซ้ำไป ในยุคดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด มีการสร้างนโยบายมองตะวันออก หรือ Look East ให้มีการศึกษาความพัฒนาของประเทศญี่ปุ่นและประเทศเกาหลี มีการส่งนักศึกษามาเลเซียไปยังทั้งสองประเทศเป็นจำนวนหลายหมื่นคน มีการสร้างตึกแฝดเปโตรนัส สร้างเมืองปุตราจายา สร้างหอคอยกัวลาลัมเปอร์ หรือแม้แต่การส่งนักอวกาศชาวมาเลเซียในยุคอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวี ก็เป็นการเตรียมการในยุคดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด โดยมีการสัญญาส่งนักอวกาศชาวมาเลเซียในกรณีมาเลเซียซื้อเครื่องบินรบจากประเทศรัสเซีย
ผลงานของดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด
เมืองปุตราจายา
เมืองปุตราจายา
เมืองปุตราจายา
เมืองปุตราจายา
หอคอยกัวลาลัมเปอร์
ตึกแฝดเปโตรนัส
ตนอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวีรับตำแหน่งประธานพรรคต่อจากดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด
ยุคตนอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวี
ภายหลังจากตน ดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด ได้ลาออกจากประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติและนายกรัฐมนตรีแล้ว ตนอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวีขึ้นสู่ตำแหน่งประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติคนที่ 6 และนายกรัฐมนตรีมาเลเซียคนที่ 5 ในช่วงแรกของการขึ้นสู่อำนาจปรากฏว่าการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาเลเซียในปี 2004 พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติและพรรคแนวร่วมแห่งชาติได้รับชัยชนะอย่างท่วมท้น ในยุคตนอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวี ได้มีการประกาศนโยบาย “อิสลามฮาดารี – Islam Hadhari” แต่ต่อมาด้วยปัจจัยการเล่นพรรค เล่นพวกภายในครอบครัวตนอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวี รวมทั้งปัจจัยจากบุตรเขยของตนอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวี และความขัดแย้งทางเชื้อชาติ ทำให้การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาเลเซียในปี 2008 พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติและพรรคแนวร่วมแห่งชาติได้รับเลือกตั้งไม่ถึง 2 ใน 3 ของสภาผู้แทนราษฎร และไม่เพียงรัฐกลันตันยังคงอยู่ภายใต้อำนาจของพรรคปาสเท่านั้น แต่มีผลทำให้รัฐสลังงอร์ รัฐปีนัง รัฐเปรัค ละรัฐเคดะห์ต้องตกอยู่ภายใต้อำนาจของพรรคฝ่ายค้านอีกด้วย จนเกิดการเรียกร้องให้ตนอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวี ลาออกจาดตำแหน่งประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติและนายกรัฐมนตรี จนต้องลาออกจากตำแหน่งเมื่อ 28 มีนาคม 2009
ดาโต๊ะศรีมูฮัมหมัดนายิบ บินตนอับดุลราซัครับตำแหน่งประธานพรรคต่อจากตนอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวี
ยุคดาโต๊ะศรีมูฮัมหมัดนายิบ บินตนอับดุลราซัค
ดาโต๊ะศรีมูฮัมหมัดนายิบ บินตนอับดุลราซัคดำรงตำแหน่งประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติคนที่ 7 และนายกรัฐมนตรีมาเลเซียคนที่ 6 สำหรับในยุคโต๊ะศรีมูฮัมหมัดนายิบ บินตนอับดุลราซัคด้วยปัญหาความขัดแย้งทางเชื้อชาติยังคงมีอยู่ จึงมีการประกาศนโยบาย “ 1 มาเลเซีย – 1 Malaysia” เป็นนโยบายเพื่อความปรองดอง ความเป็นหนึ่งเดียวของประชาชนชาวมาเลเซีย โดยไม่จำกัดเชื้อชาติ ศาสนา และภาษาพูด นอกจากนั้นยังมีการประกาศโครงสร้างเศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า “โมเดลเศรษฐกิจใหม่ - Model Ekonomi Baru”
เสียงจากรากหญ้า
ในโอกาสที่พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ หรือพรรคแมโน มีอายุครบ 64 ปีนี้ มีเสียงจากกลุ่มสมาชิกในระดับรากหญ้า ต้องการให้บรรดาผู้นำพรรคมีการปรับปรุงการดำเนินงานของพรรค ให้บรรดาผู้นำพรรคในระดับสูงรับฟังความต้องการของสมาชิกในระดับรากหญ้าด้วย ต้องการให้พรรคต่อสู้ พิทักษ์ผลประโยชน์ของชาวมลายูอย่างจริงจัง
ตราสัญญลักษณ์พรรคมลายูสมัคคีแห่งชาติ
ธงประจำพรรคมลายูสมัคคีแห่งชาติ
อาคารสำนักงานใหญ่พรรคมลายูสมัคคีแห่งชาติ
ในวันที่ 11 พฤษภาคม 2010 เป็นวันครบรอบ 64 ปีของการก่อตั้งพรรคอัมโน(UMNO) ชื่อของพรรคอัมโนนี้ในภาษาไทย มีการแปลชื่อพรรคแตกต่างกัน บางคนใช้ชื่อพรรคอัมโนว่า พรรคสหมาเลย์แห่งชาติ แต่ผู้เขียนขอใช้ชื่อพรรคอัมโนในอีกชื่อหนึ่ง คือพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ โดยใช้ชื่อพรรคในภาษามลายูเป็นเกณฑ์ นั้นคือ Pertubuhan Kebangsaan Melayu Bersatu โดยมีคำแปลดังนี้ Pertubuhan – องค์กร, Kebangsaan – แห่งชาติ, Melayu – มลายู และ Bersatu – สามัคคี
พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ มีชื่อเป็นภาษามลายูว่าPertubuhan Kebangsaan Melayu Bersatu เขียนด้วยอักขระยาวีดังนี้ ڤرتوبوهن كبڠسأن ملايو برساتو พรรคอัมโนมีชื่อย่อในภาษามลายูว่า Pekembar และพรรคมีชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า United Malay National Organisation มีชื่อย่อในภาษาอังกฤษว่า UMNO สำหรับชื่อย่อของพรรคในภาษาอังกฤษนั้นเป็นที่ยอมรับและได้รับความนิยมมากกว่าชื่อย่อของพรรคในภาษามลายู ดังนั้นเมื่อสาธารณชนจะกล่าวถึงพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ มักจะใช้ชื่อย่อว่า พรรคอัมโน และพรรคอัมโนนี้ถือเป็นพรรคแกนหลักของพรรคแนวร่วมแห่งชาติ (National Front) หรือ Barisan Nasional ซึ่งประกอบด้วยพรรคการเมืองต่างๆ 13 พรรคด้วยกัน พรรคแนวร่วมแห่งชาติเป็นพรรครัฐบาลสหพันธรัฐ
โครงสร้างพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ
พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ เป็นพรรคการเมืองที่ใช้ระบบพรรคแบบพรรคมวลชน หรือ Mass Party
ประธานสมัชชาพรรค หรือ Pengerusi Tetap (Permanent Chairman) คือ
ดาโต๊ะปาดูกา ฮัจญี บัดรูดดิน บินอามีรุลดิน (Dato' Paduka Hajji Badruddin bin Amiruldin )
ประธานพรรค หรือ Presiden Parti (President) คือ
ดาโต๊ะศรี มูฮัมหมัดนายิบ ตนอับดุลราซัค (Datuk Sri Mohd Najib Tun Abdul Razak)
รองประธานพรรค Timbalan Presiden Parti (Deputy President) คือ
ตันศรี ดาโต๊ะ ฮัจญีมุหยิดดิน บินมูฮัมหมัดยัสซิน (Tan Sri Dato' Haji Muhyiddin bin Mohd. Yassin)
ประธานฝ่ายเยาวชน คือ
นายคัยรี ยามาลุดดิน (Khairy Jamaluddin)
ประธานฝ่ายสตรี คือ
ดาโต๊ะศรี ชาห์รีซัต อับดุลยาลิล (Datuk Seri Shahrizat Abdul Jalil)
ประธานฝ่ายเยาวชนสตรี คือ
ดาโต๊ะโรสนะห์ ฮัจญีอับดุลราชิดชีร์ลิน (Datuk Rosnah Haji Abdul Rashid Shirlin )
สมาชิกพรรคพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ
พรรคพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติมีสมาชิกจนถึงปัจจุบัน 3,159,484 คน
ประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ
1. ดาโต๊ะ ออนน์ บินยะอาฟาร์ (Dato’ Onn bin Jaafar) ดำรงตำแหน่งระหว่าง 11 พฤษภาคม 1946 - 26 สิงหาคม 1951
ดาโต๊ะ ออนน์ บินยะอาฟาร์ (Dato’ Onn bin Jaafar)
2. ตนกูอับดุลราห์มาน ปุตรา อัลฮัจญ์ (Tunku Abdul Rahman Putra Al-Haj)ดำรงตำแหน่งระหว่าง 26 สิงหาคม 1951 - 24 มกราคม 1971
ตนกูอับดุลราห์มาน ปุตรา อัลฮัจญ์ (Tunku Abdul Rahman Putra Al-Haj)
3. ตนอับดุลราซัค ดาโต๊ะฮุสเซ็น (Tun Abdul Razak Dato' Hussein)ดำรงตำแหน่งระหว่าง 24 มกราคม 1971 - 14มกราคม 1976
ตนอับดุลราซัค ดาโต๊ะฮุสเซ็น (Tun Abdul Razak Dato' Hussein)
4. ตนฮุสเซ็น ออนน์ (Tun Hussein Onn)ดำรงตำแหน่งระหว่าง 14 มกราคม 1976 - 28 มิถุนายน 1981
ตนฮุสเซ็น ออนน์ (Tun Hussein Onn)
5. ตน ดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด (Tun Dr. Mahathir bin Mohamad)ดำรงตำแหน่งระหว่าง 28 มิถุนายน 1981 - 30 ตุลาคม 2003
ตน ดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด (Tun Dr. Mahathir bin Mohamad)
6. ตนอับดุลลอฮ บินฮัจญีอาหมัดบาดาวี (Tun Abdullah bin Haji Ahmad Badawi)ดำรงตำแหน่งระหว่าง 30 ตุลาคม 2003 - 28 มีนาคม 2009
ตนอับดุลลอฮ บินฮัจญีอาหมัดบาดาวี (Tun Abdullah bin Haji Ahmad Badawi)
7. ดาโต๊ะศรีมูฮัมหมัดนายิบ บินตนอับดุลราซัค (Dato' Sri Mohd Najib bin Tun Haji Abdul Razak)ดำรงตำแหน่งระหว่าง 28 มีนาคม 2009
เพลงประจำพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ(UMNO)
Bersatu, Bersetia, Berkhidmat
Bersatu Kita Bersatu
Dengan Setia Berganding Bahu
Jiwa Teguh Berpadu
Kita Rumpun Melayu
Bersama Kita Bersama
Mendukung Hasrat Semua
Berjasa Pada Bangsa
Agama Dan Negara
Lambang Kita Yang Gagah
Dipandang Mulia Dan Indah
"Bersatu, Bersetia, Berkhidmat"
ปีกเศรษฐกิจของพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ
พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติมีปีกทางเศรษฐกิจอยู่ 2 ส่วนคือ
1.กิจการทางธุรกิจที่ดำเนินการในนามของพรรค
กิจการทางธุรกิจของพรรค ที่ให้บุคคลอื่น หรือองค์กรอื่นถือหุ้นแทนนั้นมีเป็นจำนวนมาก เช่นการถือหุ้นในหนังสือพิมพ์ สถานีโทรทัศน์ และกิจการธุรกิจอื่นๆ
2.กิจการทางธุรกิจที่ดำเนินการโดยสมาชิกพรรค
ด้วยสมาชิกพรรคมีเป็นจำนวนหลายล้านคน จึงมีการจัดตั้งหน่วยเศรษฐกิจของสมาชิกพรรค แรกเริ่มมีการจัดตั้งในรูปแบบของสหกรณ์ โดยใช้ชื่อว่า Kopersi Usaha Bersatu ต่อมาสหกรณ์แห่งนี้ได้ไปซื้อบริษัทในตลาดหลักทรัพย์สำหรับภูมิบุตรแห่งหนึ่งชื่อว่า Permodalan Perak Berhad และเปลี่ยนชื่อบริษัทดังกล่าวเป็น KUB Malaysia Berhad
สำหรับกิจการทางธุรกิจของกลุ่มสมาชิกพรรคนี้มีมากมาย เช่น มหาวิทยาลัยตนอับดุลราซัค (ร่วมเปิดการเรียนการสอนระดับปริญญาโททางไกลกับมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ กรุงเทพฯ) นอกจากนั้นมีบริษัทต่างๆดังนี้
1.KUB Telekomunikasi Sdn Bhd (KUBTel)
2.KUB-Fujitsu Telecommunications (Malaysia) Sdn Bhd
3.Empirical Systems (M) Sdn Bhd
4.KUB Development Berhad (KUBD)
5.Bina Alam Bersatu Sdn Bhd
6.Peraharta Sdn Bhd
7.KUB Power Sdn Bhd
8.KUB Realty Sdn Bhd
9.KUB Builders Sdn Bhd
10.Precast Products Sdn Bhd
11.A&W (Malaysia) Sdn Bhd
12.A&W Restaurants (Thailand) Co. Ltd.
สำหรับบริษัทนี้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ A&W ในประเทศไทย เดิมบริษัทนี้มีบรรษัทพัฒนาเศรษฐกิจแห่งรัฐตรังกานูเป็นเจ้า ต่อมาได้ขายหุ้นให้ทาง KUB Malaysia Berhad
13.KUB Agrotech Sdn Bhd
14.KUB Sepadu Sdn Bhd
15.Summit Petroleum (Malaysia) Sdn Bhd
16.KUB-Berjaya Enviro Sdn Bhd
17.อื่นๆ
มหวิทยาลัยตนอับดุลราซัค
มหวิทยาลัยตนอับดุลราซัค
ประวัติความเป็นมาของพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ
ประวัติยุคดาโต๊ะออนน์ บินยะอาฟาร์
ในการประชุมสมัชชาที่เรียกว่า สภาชาวมลายูแห่งมาลายา ครั้งที่ 1 (Kongres Melayu SeMalaya Pertama) ที่จัดโดยสมาคมชาวมลายูแห่งรัฐสลังงอร์(Persatuan Melayu Selangor) ซึ่งจัดที่คลับสุลต่านสุไลมาน เขตกำปงบารู กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อวันที่ 1-4 มีนาคม 1946 มีองค์กรของชาวมลายูส่งตัวแทนเข้าร่วมประชุมทั้งหมด 41 องค์กร การประชุมครั้งนี้ดาโต๊ะออนน์ บินยะอาฟาร์ จากสมคมชาวมลายูแห่งรัฐโยโฮร์ (Persatuan Melayu Johor) ได้รับเลือกให้เป็นประธานของการประชุม มติของที่ประชุมครั้งนี้คือ
1. จัดตั้งองค์กรมลายูสามัคคีแห่งชาติ
2. ต่อต้านการจัดตั้งสหภาพมาลายา(ตามแผนการของอังกฤษ)
3. มีการจัดตั้งกองทุนการศึกษาของชาวมลายู
มีการคัดเลือกคณะกรรมการชุดหนึ่งประกอบด้วย ดาโต๊ะออนน์ บินยะอาฟาร์(Dato Onn Jaafar), ดาโต๊ะปังลีมาบูกิตกันตัง(Dato Panglima Bukit Gantang), ดาโต๊ะนิอาหมัด กามิล (Dato Nik Ahmad Kamil), ดาโต๊ะฮัมซะห์ อับดุลลอฮ (Dato Hamzah Abdullah) และ นายซัยนาลอาบีดิน อาหมัด หรือ ซาอาบา (Encik Zainal Abidin Ahmad @ Za'aba) เพื่อร่างธรรมนูญของพรรคองค์กรมลายูสามัคคีแห่งชาติ อันจะนำธนี้เข้าที่ประชุมสมัชชาครั้งต่อไป
สำหรับแผนการจัดตั้งสหภาพมาลายาของอังกฤษนั้น แม้ว่าจะได้รับการต่อต้านจากชาวมลายู แต่อังกฤษก็ยังคงเดินเรื่องในการจัดตั้งสหภาพมาลายา จนเมื่อวันที่ 1 เมษายน 1946 อังกฤษก็ได้จัดตั้งสหภาพมาลายาจนสำเร็จ ชาวมลายูและองค์กรมลายูต่างๆได้ต่อต้านและไม่ให้ความร่วมมือในการจัดตั้งสหภาพมาลายา จนเมื่อ 11 พฤษภาคม 1946 จึงได้มีการประชุมสภาชาวมลายูครั้งที่ 3 (Kongres Melayu SeMalaya Pertama)
และการประชุมใหญ่ของพรรคอัมโน ที่พระราชวังโยโฮร์บาห์รู รัฐโยโฮร์ ในการประชุมครั้งนั้นมีการรับหลักการของธรรมนูญของพรรคอัมโน นั้นคือวันที่ถือว่าเป็นวันก่อตั้งที่เป็นทางการของพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ หรือพรรคอัมโน
จะเห็นได้ว่าการเกิดขึ้นของพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาตินั้น เกิดจากการรวมตัวขององค์กรชาวมลายู ดังนั้นในช่วงแรกๆสมาชิกของพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ จึงประกอบด้วยองค์กรต่างๆของชาวมลายู ต่อมามีการเปลี่ยนสถานภาพสมาชิกจากองค์กรของชาวมลายูมาเป็นสมาชิกตัวบุคคล ภายหลังดาโต๊ะออนน์ บินยะอาฟาร์ได้เสนอให้มีการเปลี่ยนสถานภาพของสมาชิกพรรค จากการผูกขาดเฉพาะชาวมลายู แต่ให้มีการเปิดกว้าง โดยไม่จำกัดเชื้อชาติ ศาสนา หรือภาษาพูด แต่ขอเสนอดังกล่าวได้รับการต่อต้าน ดังนั้นในการประชุมใหญ่ครั้งที่ 6 ของพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ เมื่อ 25-26 สิงหาคม 1951 ดาโต๊ะออนน์ บินยะอาฟาร์ จึงได้ลาออกจากพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติไปจัดตั้งพรรคการเมืองใหม่ เมื่อ 26 สิงหาคม 1951 โดยพรรคการเมืองใหม่นี้ใช้ชื่อว่า พรรคเอกราชแห่งมาลายา หรือ Independence of Malaya Party เป็นพรรคที่สมาชิกไม่จำกัด เชื้อชาติ ศาสนา และภาษาพูด ต่อมาดาโต๊ะออนน์ บินยะอาฟาร์ลาออกจากพรรคนี้ไปจัดตั้งพรรคใหม่ใช้ชื่อว่า พรรคแห่งชาติ หรือ Parti Negara (National Party)
ประวัติยุคตนกูอับดุลราห์มาน ปุตรา
หลังจากดาโต๊ะออนน์ บินยะอาฟาร์ ได้ลาออกจากประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติแล้ว ตนกูอับดุลราห์มาน ปุตราได้รับเลือกเป็นประธานพรรคคนใหม่ ในยุคตนกูอับดุลราห์มาน ปุตราเป็นยุคที่มาเลเซียได้รับเอกราช โดยได้รับเอกราชเมื่อ 31 สิงหาคม 1957 ตนกูอับดุลราห์มาน ปุตราเป็นนายกรัฐมนตรีคนแรกของมาเลเซีย ซึ่งขณะนั้นยังใช้ชื่อว่าสหพันธรัฐมาลายา ต่อมาตนกูอับดุลราห์มาน ปุตราเป็นผู้เสนอแนวคิดการจัดตั้งประเทศใหม่ โดยการรวมสหพันธรัฐมาลายา บรูไน สิงคโปร์ รัฐซาบะห์ และรัฐซาราวัค เข้าเป็นประเทศมาเลเซีย ต่อมาบรูไนถอนตัวก่อนการรวมประเทศ ประเทศใหม่นี้เกิดขึ้นเมื่อ 16 สิงหาคม 1963
ต่อมาในวันที่ 9 สิงหาคม 1965 สิงคโปร์ได้ถอนตัวออกจากประเทศมาเลเซียและประกาศเอกราชเป็นประเทศสิงคโปร์ ในยุคตนกูอับดุลราห์มาน ปุตราเกิดเหตุการณ์ความขัดแย้งระหว่างเชื้อชาติ ทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนหนึ่งเหตุการณ์นี้เกิดขึ้นเมื่อ 13 พฤษภาคม 1969 และในปี 1971 ตนกูอับดุลราห์มาน ปุตราได้ลาออกจากประธานพรรคพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติและนายกรัฐมนตรีมาเลเซีย
ยุคตนอับดุลราซัค
เมื่อตนกูอับดุลราห์มาน ปุตราลาออกจากประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติและนายกรัฐมนตรีมาเลเซียแล้ว ตนอับดุลราซัคได้รับเลือกเป็นประธานพรรคพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติคนที่ 3 และนายกรัฐมนตรีมาเลเซียคนที่ 2 ในยุคตนอับดุลราซัคนี้ หลังจากเกิดเหตุการณ์ “13 พฤษภาคม 1969 ” ทางรัฐบาลได้มีการประกาศนโยบายเศรษฐกิจใหม่ หรือ Dasar Ekonomi Baru (New Economy Policy) เพื่อปรับโครงสร้างทางสังคม เศรษฐกิจของมาเลเซียให้มีความสมดุล และเป็นธรรมมากขึ้น ตนอับดุลราซัคเสียชีวิตในปี 1976
ยุคตนฮุสเซ็น ออน์
หลังจากตนอับดุลราซัคเสียชีวิตแล้ว ตนฮุสเซ็น บุตรชายดาโต๊ะออนน์ บินยะอาฟาร์ ประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติคนแรก ก็ก้าวขึ้นสู่ตำแหน่งประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติคนที่ 4 และนายกรัฐมนตรีมาเลเซียคนที่ 3 ในยุคตนฮุสเซ็น ออน์ได้มีการประกาศจัดตั้งกองทุนการเงินที่เรียกว่า Amanah Ikhtiar Nasional การจัดตั้งกองทุนการเงินนี้เพื่อระดมทุนจากชาวภูมิบุตร (ชาวมลายู, ชาวพื้นเมืองดั้งเดิม, ชาวพื้นเมืองรัฐซาบะห์, ชาวพื้นเมืองรัฐซาราวัค รวมทั้งชาวมาเลเซียเชื้อสายชาวไทยพุทธที่ถือเป็นส่วนหนึ่งของชาวภูมิบุตรด้วย) อันจะเป็นการยกฐานะทางเศรษฐกิจของชาวภูมิบุตรให้มีสัดส่วนที่สมดุลมากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับชาวมาเลเซียเชื้อสายอื่นๆ
ยุคดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัด
ดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัดเป็นประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติคนที่ 5 และนายกรัฐมนตรีมาเลเซียคนที่ 4 ในยุคดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัด ถือเป็นยุคที่พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติยุบศาลสั่งให้ยุบพรรค การยุบพรรคนี้เกิดขึ้นหลังจากมีการแข่งขันชิงตำแหน่งประธานพรรคระหว่างดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัด นายกรัฐมนตรีกับเต็งกูราซาลี เต็งกูฮัมซะห์ อดีตรัฐมนตรีการคลัง ในปี 1987 ในการแข่งขันครั้งนั้นปรากฏว่าดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัดชนะการเลือกตั้งด้วยคะแนนไม่มากนัก คือ ดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัด ได้ 761 คะแนน ส่วนเต็งกูราซาลี เต็งกูฮัมซะห์ได้ 718 คะแนน ต่างกันเพียง 43 คะแนน มีสมาชิกพรรคจำนวนหนึ่งไม่พอใจผลการเลือกตั้งในครั้งนี้ด้วยเห็นว่ามีบางสิ่งไม่ถูกต้อง สมาชิกพรรคจำนวน 11 คน ที่ต่อมารู้จักในนามของ “UMNO 11” ได้ทำการฟ้องศาลในเดือนมิถุนายน 1987 ให้การเลือกตั้งประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติครั้งนั้นเป็นโมฆะ และให้มีการเลือกตั้งใหม่ โดยให้เหตุผลว่า มีสาขาพรรคย่อย(Cawangan)จำนวนถึง 30 แห่งใน 4 สาขาพรรคระดับเขต(Bahagian) ที่ยังไม่ได้รับการจัดตั้งอย่างถูกต้องตามกฎหมาย ดังนั้นถือว่าสาขาพรรคย่อย(Cawangan)เหล่านั้นย่อมผิดกฎหมาย และในการเลือกตัวแทนพรรค(Perwakilan)ในสาขาพรรคระดับเขต(Bahagian)ดังกล่าวเพื่อไปลงคะแนนในการเลือกประธานพรรค ย่อมถือว่าผิดกฎหมายด้วย และการเลือกประธานพรรคที่ผ่านมาย่อมเป็นโมฆะ ขอให้ศาลสั่งให้มีการเลือกตั้งประธานพรรคใหม่ แต่ในการตัดสินของศาลสูงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 1988 ผู้พิพากษาฮารุน ฮาชิม (Harun Hashim) ได้ตัดสินให้พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ หรือพรรคอัมโน เป็นพรรคที่ผิดกฎหมาย ต้องยุบพรรค ด้วยเหตุผลที่มีสาขาพรรคย่อย(Cawangan) ไม่ได้จดทะเบียน และถือเป็นที่ผิดกฎหมายตาม พ.ร.บ. การจัดตั้งองค์กรปี 1966 (Akta Pertubuhan 1966)
ต่อมาดร.มหาเธร์ โมฮัมหมัดได้จัดตั้งพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติขึ้นมาใหม่ เมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 1988 ใช้ชื่อว่า พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติใหม่(United Malay National Organisation - UMNO Baru) ส่วนฝ่ายเต็งกูราซาลี เต็งกูฮัมซะห์ ได้ไปจัดตั้งพรรคของตฝ่ายตัวเอง ใช้ชื่อว่า พรรคสปิริต 46 (Parti Semangat 46) เป็นพรรคที่สืบทอดอุดมการณ์ของพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติที่จัดตั้งขึ้นในปี 1946 การแตกแยกของพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติในครั้งนี้ทำให้พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติอ่อนแอลง ต่อมาพรรคสปิริต 46 (Parti Semangat 46) ได้ร่วมกับพรรคปาส(Parti PAS)และพรรคการเมืองอื่นๆอีก 2 พรรคสามารถเป็นรัฐบาลท้องถิ่นของรัฐกลันตัน ภายหลังพรรคสปิริต 46 (Parti Semangat 46)ได้กลับมารวมกับพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติอีกครั้ง แต่อย่างไรก็ตามนับตั้งแต่นั้นจนถึงปัจจุบันรัฐกลันตันก็ตกอยู่ภายในอำนาจของพรรคปาส
นอกจากนั้นในยุคดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด เกิดความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลกับฝ่ายพระราชาธิบดีและบรรดาเจ้าเมือง ด้วยบรรดาเจ้าเมืองบางส่วนได้กระทำผิดหลายประการ ทำให้ฝ่ายรัฐบาลต้องการลดอำนาจของฝ่ายพระราชาธิบดีและบรรดาเจ้าเมือง จนเกิดการแก้ไขรัฐธรรมนูญของมาเลเซีย มีผลทำให้อำนาจบางส่วนของฝ่ายพระราชาธิบดีและบรรดาเจ้าเมืองลดลง โดยสภาผู้แทนราษฎรมีการลงมติผ่านการแก้ไขรัฐธรรมนูญเมื่อ 19 มกราคม 1993และวุฒิสภาลงมติผ่านการแก้ไขรัฐธรรมนูญเมื่อ 20 มกราคม 1993 และหลังจากนั้นมีการบัญญัติการแก้ไขลงในรัฐธรรมนูญในเดือนมีนาคม 1993 ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญครั้งนี้ ฝ่ายพระราชาธิบดีและบรรดาเจ้าเมืองเมื่อกระทำผิดกฎหมายสามารถถูกดำเนินคดีได้ โดยมีการจัดตั้งศาลพิเศษขึ้นมา และมีการแก้ไขพ.ร.บ. การปลุกระดม ปี 1948 (Akta Hasutan 1948 หรือ 1948 Sedition Act) โดยอนุญาตให้ประชาชนทั่วไปสามารถวิพากษ์วิจารณ์พระราชาธิบดีและบรรดาเจ้าเมืองได้
ในปี 1998 ดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด เกิดความขัดแย้งกับดาโต๊ะศรี อันวาร์ อิบราฮิม (Datuk Seri Anwar Ibrahim) ผู้ดำรงตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี จนดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด ปลดดาโต๊ะศรีอันวาร์ อิบราฮิม ออกจากตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรี และต่อมาดาโต๊ะศรีอันวาร์ อิบราฮิม ได้จัดตั้งพรรคความยุติธรรมของประชาชน (Parti KeAdilan Rakyat) โดยมีดาโต๊ะศรี ดร. (Datuk Seri Dr. Wan Azizah Wan Ismail) ผู้ภรรยาเป็นหัวหน้าพรรค
ถึงแม้ว่าดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด จะมีภาพของนักเผด็จการอยู่บ้าง แต่ด้วยการที่เป็นคนเด็ดขาด มองการณ์ไกลนี้เอง สามารถพัฒนาประเทศมาเลเซีย จนรุกหน้า บางครั้งอาจล้ำหน้ากว่าบางประเทศที่เคยก้าวหน้ากว่าประทศมาเลเซียด้วยซ้ำไป ในยุคดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด มีการสร้างนโยบายมองตะวันออก หรือ Look East ให้มีการศึกษาความพัฒนาของประเทศญี่ปุ่นและประเทศเกาหลี มีการส่งนักศึกษามาเลเซียไปยังทั้งสองประเทศเป็นจำนวนหลายหมื่นคน มีการสร้างตึกแฝดเปโตรนัส สร้างเมืองปุตราจายา สร้างหอคอยกัวลาลัมเปอร์ หรือแม้แต่การส่งนักอวกาศชาวมาเลเซียในยุคอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวี ก็เป็นการเตรียมการในยุคดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด โดยมีการสัญญาส่งนักอวกาศชาวมาเลเซียในกรณีมาเลเซียซื้อเครื่องบินรบจากประเทศรัสเซีย
ผลงานของดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด
เมืองปุตราจายา
เมืองปุตราจายา
เมืองปุตราจายา
เมืองปุตราจายา
หอคอยกัวลาลัมเปอร์
ตึกแฝดเปโตรนัส
ตนอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวีรับตำแหน่งประธานพรรคต่อจากดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด
ยุคตนอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวี
ภายหลังจากตน ดร. มหาเธร์ โมฮัมหมัด ได้ลาออกจากประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติและนายกรัฐมนตรีแล้ว ตนอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวีขึ้นสู่ตำแหน่งประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติคนที่ 6 และนายกรัฐมนตรีมาเลเซียคนที่ 5 ในช่วงแรกของการขึ้นสู่อำนาจปรากฏว่าการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาเลเซียในปี 2004 พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติและพรรคแนวร่วมแห่งชาติได้รับชัยชนะอย่างท่วมท้น ในยุคตนอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวี ได้มีการประกาศนโยบาย “อิสลามฮาดารี – Islam Hadhari” แต่ต่อมาด้วยปัจจัยการเล่นพรรค เล่นพวกภายในครอบครัวตนอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวี รวมทั้งปัจจัยจากบุตรเขยของตนอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวี และความขัดแย้งทางเชื้อชาติ ทำให้การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาเลเซียในปี 2008 พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติและพรรคแนวร่วมแห่งชาติได้รับเลือกตั้งไม่ถึง 2 ใน 3 ของสภาผู้แทนราษฎร และไม่เพียงรัฐกลันตันยังคงอยู่ภายใต้อำนาจของพรรคปาสเท่านั้น แต่มีผลทำให้รัฐสลังงอร์ รัฐปีนัง รัฐเปรัค ละรัฐเคดะห์ต้องตกอยู่ภายใต้อำนาจของพรรคฝ่ายค้านอีกด้วย จนเกิดการเรียกร้องให้ตนอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวี ลาออกจาดตำแหน่งประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติและนายกรัฐมนตรี จนต้องลาออกจากตำแหน่งเมื่อ 28 มีนาคม 2009
ดาโต๊ะศรีมูฮัมหมัดนายิบ บินตนอับดุลราซัครับตำแหน่งประธานพรรคต่อจากตนอับดุลลอฮ อาหมัด บาดาวี
ยุคดาโต๊ะศรีมูฮัมหมัดนายิบ บินตนอับดุลราซัค
ดาโต๊ะศรีมูฮัมหมัดนายิบ บินตนอับดุลราซัคดำรงตำแหน่งประธานพรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติคนที่ 7 และนายกรัฐมนตรีมาเลเซียคนที่ 6 สำหรับในยุคโต๊ะศรีมูฮัมหมัดนายิบ บินตนอับดุลราซัคด้วยปัญหาความขัดแย้งทางเชื้อชาติยังคงมีอยู่ จึงมีการประกาศนโยบาย “ 1 มาเลเซีย – 1 Malaysia” เป็นนโยบายเพื่อความปรองดอง ความเป็นหนึ่งเดียวของประชาชนชาวมาเลเซีย โดยไม่จำกัดเชื้อชาติ ศาสนา และภาษาพูด นอกจากนั้นยังมีการประกาศโครงสร้างเศรษฐกิจใหม่ที่เรียกว่า “โมเดลเศรษฐกิจใหม่ - Model Ekonomi Baru”
เสียงจากรากหญ้า
ในโอกาสที่พรรคมลายูสามัคคีแห่งชาติ หรือพรรคแมโน มีอายุครบ 64 ปีนี้ มีเสียงจากกลุ่มสมาชิกในระดับรากหญ้า ต้องการให้บรรดาผู้นำพรรคมีการปรับปรุงการดำเนินงานของพรรค ให้บรรดาผู้นำพรรคในระดับสูงรับฟังความต้องการของสมาชิกในระดับรากหญ้าด้วย ต้องการให้พรรคต่อสู้ พิทักษ์ผลประโยชน์ของชาวมลายูอย่างจริงจัง