Ahad, 27 September 2015

สัมผัสจิตวิญญาณมลายูในประเทศเมียนมา

โดย นิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน
    เมื่อครั้งผู้เขียนได้เดินทางไปยังประเทศซาอุดีอาราเบียเมื่อปี 2528   ที่นครมักกะห์เพื่อนวัยรุ่นผู้เขียนชื่อว่า นายนิสิต นุ้ยแอ ปัจจุบันได้ข่าวว่าเปิดบริษัทกิจการฮัจญ์ชื่อว่า หจก. นาทวีบิสเน็ส แอนด์ ทราเวล  เพื่อนผู้นั้นได้แนะนำผู้เขียนให้รู้ฮุจยาตชาวมลายูจากเกาะสอง ประเทศเมียนมา  นั้นเป็นครั้งแรกที่ผู้เขียนได้รับรู้ว่ามีชาวมลายูอาศัยอยู่ในประเทศเมียนมา  หลังจากนั้นอีกสิบกว่าปี  เมื่อผู้เขียนเดินทางไปประเทศมาเลเซีย  ที่นั่นมีการลงข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์กระแสหลักของมาเลเซีย ถึงการที่ชาวต่างชาติที่เข้าไปทำงานและตั้งถิ่นฐานในประเทศมาเลเซีย สร้างปัญหาทางเศรษฐกิจต่อประเทศมาเลเซีย ไม่ว่าต้องรับภาระค่าการรักษาพยาบาล  รับภาระงบประมาณสนับสนุนทางการศึกษา  ในข่าวหน้าหนังสือพิมพ์ครั้งนั้น มีการลงข่าวของครูคนหนึ่งที่ได้กล่าวถึงการที่โรงเรียนของเขามีชาวมลายูจากประเทศเมียนมามาเรียนถึงกว่าครึ่งโรง  ซึ่งทำให้ผู้เขียนมีความสนใจมากขึ้นถึงความสัมพันธ์ของชาวมลายูจากประเทศเมียนมากับประเทศมาเลเซีย  ยิ่งครั้งหนึ่งลูกพี่ลูกน้องของผู้เขียนซึ่งตอนนั้นทำงานที่โรงแรมแห่งหนึ่งในอำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส ได้พาหญิงชายคู่หนึ่งที่จะพักที่โรงแรม แต่ฝ่ายหญิงไม่ยอม เขาจึงพาชายหญิงคู่นั้นมาที่บ้านพักของเขา ซึ่งขณะนั้นผู้เขียนและแม่มาเยี่ยมเขา  ฝ่ายหญิงบอกแก่แม่ผู้เขียนว่าเธอถูกหลอก เราจึงไล่ฝ่ายชาย จนญาติพี่น้องฝ่ายหญิงหาตัวจนพบ  และมั่นใจว่าเธอปลอดภัย เราจึงมอบเธอต่อครอบครัวเธอที่เดินทางมาจากฝั่งมาเลเซีย  นอกจากนั้นตันสรีอิสมาแอล  ฮุสเซ็น  หนึ่งในนักปราชญ์มลายูศึกษาได้เขียนบทความที่ท่านได้เดินทางไปเยี่ยมญาติพี่น้องของท่านลงในวารสาร “Warta Gapena”  ซึ่งเป็นวารสารของสมาพันธ์นักเขียนแห่งชาติมาเลเซีย ขณะที่ท่านเป็นประธานของสมาพันธ์นักเขียนอยู่  และเมื่อเดือนเมษายนที่ผ่านมา หลานชายภรรยาผู้เขียนได้เดินทางไปเกาะสอง ประเทศเมียนมา พร้อมเพื่อนๆ และพักที่ชุมชนชาวมลายูที่นั่นสองสามคืน ดังนั้นการรับรู้ถึงการมีอยู่ของชุมชนชาวมลายูในประเทศเมียนมาจึงมีอยู่ตลอด

    เมื่อต้นเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา ทางคณะนักศึกษามลายูศึกษา ม.อ. ปัตตานี มีแผนจะเดินทางไปเยี่ยมชุมชนชาวมลายูในประเทศเมียนมา  ซึ่งจำเป็นที่ต้องใช้อินเตอร์เน็ตหาข้อมูลเกี่ยวกับชุมชนชาวมลายูในประเทศเมียนมา  ข้อมูลที่ได้ส่วนใหญ่จะมาจากประเทศมาเลเซีย เป็นบทความต่างๆที่ชาวมาเลเซียเดินทางไปเยี่ยมชุมชนชาวมลายูในประเทศเมียนมา ส่วนในประเทศไทยเรียกว่าแทบจะไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับชาวมลายูในประเทศเมียนมาเลย  คล้ายกับว่าชุมชนชาวมลายูในประเทศเมียนมาไม่มีอยู่ในสารบบความเป็นพี่น้องของมุสลิมไทย กลับกันข้อมูลชาวจามมุสลิมในประเทศลาว แม้จะมีเพียง สองสามร้อยคน กลับมีข้อมูลตามบทความต่างๆมากมาย  ผู้เขียนยิ่งเศร้าใจ เมื่อนักศึกษามลายูศึกษาผู้หนึ่งที่ได้รับมอบหมายให้ประสานงานในการเดินทางไปสัมผัสชุมชนมลายูในประเทศเมียนมาครั้งนี้  เธอได้ติดต่อสอบถามกับอดีตผู้นำนักศึกษาท่านหนึ่ง ก็ได้รับคำตอบว่า เกาะสองไม่ปลอดภัย  เกาะสองไม่มีความสำคัญทางจิตวิญญาณ  ผู้เขียนจึงจำเป็นต้องแสดงแผนที่ที่ตั้งของชุมชนชาวมลายูในประเทศเมียนมา  เมื่ออาศัย  Google Earth สำรวจชื่อชุมชนชาวมลายูในประเทศเมียนมา  ปรากฏว่ามีชื่อชุมชนชาวมลายูที่ชื่อเป็นภาษามลายูหลายชุมชนด้วยกัน เช่น กำปงเตองะห์ กำปงฮูลู  กำปงเมะปูเตะห์  กำปงปาเซร์ปันยัง  กำปงลามา  ดังนั้นจึงสามารถมั่นใจได้ว่าเกาะสองมีความสำคัญทางจิตวิญญาณสำหรับชาวมลายูนอกประเทศเมียนมาแน่นอน

   การเดินทางของคณะนักศึกษามลายูศึกษา ม.อ. ปัตตานีในครั้งนี้  ก่อนเดินทางไปสัมผัสชุมชนชาวมลายูในเกาะสอง  คณะเราได้เดินทางไปสัมผัสชุมชนชาวมลายูที่เกาะสินไห จังหวัดระนอง  เกาะสินไห มีชื่อเป็นภาษามลายูว่า ปูเลาปีไง  ชาวบ้านชาวเกาะเกือบร้อยเปอร์เซ็นต์จะเป็นชาวมุสลิม ที่พูดภาษามลายู สำเนียงเคดะห์  การสัมผัสชุมชนชาวเกาะสินไหครั้งนี้ ทำให้คณะเราสัญญาว่าคณะเราจะไปเยี่ยมอีกครั้งหนึ่ง  ด้วยยังมีบางสิ่งบางอย่างที่เราต้องช่วยเหลือพี่น้องชาวมลายูบนเกาะสินไห  หลังจากนั้นคณะนักศึกษามลายูศึกษาจึงเดินทางเข้าเกาะสอง ประเทศเมียนมา  เกาะสองนี้ตั้งอยู่ภายใต้ภูมิภาคตะนาวศรี (Tanintharyi Region) ภาษามลายูจะเรียกภูมิภาคตะนาวศรีว่า Tanah Sari ประเทศเมียนมานี้ มีเขตการปกครองที่แปลกแตกต่างจากประเทศไทย มาเลเซีย หรือแม้แต่อินโดเนเซีย ด้วยเขตการปกครองใดที่มีชาวพม่าอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก จะเรียกว่าภูมิภาค หรือ Region  เช่น ภูมิภาคตะนาวศรี ส่วนเขตการปกครองใดที่มีชนชาติอื่นๆ เช่น ชาวมอญ ชาวไทยใหญ่ เป็นชนกลุ่มใหญ่ จะเรียกเขตการปกครองนั้นว่า รัฐ (State) เช่น รัฐมอญ รัฐฉาน เมื่อคณะนักศึกษาเดินทางขึ้นฝั่งเกาะสอง  สิ่งแรกที่แปลกใจคือชาวเมียนมามุสลิมเชื้อสายอะไรสักอย่าง ถ้าไม่โรฮิงญา ก็เชื้อสายอินเดีย-บังคลาเทศ ที่ทำหน้าที่เป็นไกด์บริเวณท่าเรือ เขาสามารถพูดภาษามลายูกลางได้คล่องแคล่ว  เมื่อเราแจ้งว่าเราจะพักโรงแรมหนึ่งในตลาดเกาะสอง เขาได้พาคณะนักศึกษาไปยังโรงแรมแห่งนั้น ซึ่งตั้งอยู่ด้านหลังมัสยิดของเกาะสอง  เมื่อเดินทางใกล้ถึงมัสยิด  เมื่อชาวเมียนมา หน้าตาแบบชาวอินเดีย พูดภาษามลายูกลางทักทายเรา เขาบอกว่าเขาเป็นลูกครึ่งแม่มลายูส่วนพ่อเป็นมามะ (Mamak) คำว่ามามะเป็นคำเรียกชาวอินเดียมุสลิม เขาบอกว่าถ้าจะเยี่ยมชุมชนชาวมลายูให้ไปสอบถามลูกพี่ลูกน้องของเขา ซึ่งพูดภาษามลายูได้เช่นกัน  

    เราพักค้างคืนที่ตลาดเกาะสอง  โดยมีแผนวันรุ่งเช้าจะเดินทางไปสัมผัสชุมชนชาวมลายู ในตอนค่ำที่ตลาดเกาะสอง คณะเราโชคดีได้เจอคุณซัมซุดดิน ชาวมลายูเกาะสอง และในวันรุ่งขึ้นคุณซัมซุดดินได้พาผู้เขียนไปทานอาหารเช้าที่ร้านอาหารมุสลิมที่ตลาดเกาะสอง และพบกับคุณมูฮัมหมัดบุตรชายอดีตท่านอิหม่ามของมัสยิดที่ตั้งใกล้ที่พัก จากการพูดคุยในเช้าวันนั้น ปรากฏว่าในตลาดเกาะสองเท่านั้นมีมัสยิดและมุซอลลา ทั้งหมดถึง 7 แห่ง ซึ่งมีมากกว่าที่เราเข้าใจเสียอีก  หลังจากทานอาหารเช้าเสร็จ คณะเราจึงเช่นรถสองแถว 2 คัน เพื่อพาคณะนักศึกษามลายูศึกษาสัมผัสชุมชนมลายู  ชุมชนชาวมลายูชุมชนแรกที่คณะเราสัมผัสคือหมู่บ้านไมล์ที่ 9 (Kampong 9 Batu) ซึ่ง ณ ชุมชนนั้น ผู้เขียนก็ได้ประกาศต่อคณะนักศึกษามลายูศึกษาว่า  วันนี้วันที่ 6 มิถุนายน ณ หมู่บ้านไมล์ที่ 9  แห่งนี้  นักศึกษามลายูศึกษาได้เดินทางครบแล้วทั้ง 10 ประเทศของกลุ่มประชาคมอาเซียน  หลังจากนั้นคณะเราก็ได้เดินทางไปเยี่ยมยังชุมชนอื่นๆ  เช่น หมู่บ้านไมล์ที่ 10  หมู่บ้าน  หมู่บ้านตันหยงบาได 

    จากการสัมผัสชุมชนชาวมลายูในประเทศเมียนมา  ปรากฏว่าบางหมู่บ้านโรงเรียนตาดีกา ที่เป็นสถานที่อบรมสั่งสอนเด็กๆชาวมลายูต้องร้างลง เพราะขาดครูผู้สอน เด็กๆต้องไปเรียนศาสนาที่ต่างหมู่บ้าน ต้อง เมื่อถามชาวบ้านว่า ถ้ามีครูสอนศาสนาที่โรงเรียนร้างนั้น ผู้ปกครองจะนำลูกหลานมาเรียนไหม เขาตอบว่า ถ้ามีครูสอนศาสนามาจริง พวกเขาก็พร้อมที่จะนำลูกหลานกลับมาเรียนที่เดิม  บางหมู่บ้านที่เราสัมผัส ปรากฏว่าโรงเรียนตาดีกากำลังปรับปรุง ก่อสร้างอาคารที่มั่นคงขึ้น ส่วนครูได้เดินทางไปยังประเทศมาเลเซีย เพื่อขอสนับสนุนทางการเงินในหมู่ชาวมลายูผู้เห็นอกเห็นใจชาวมลายูในประเทศเมียนมา  สำหรับบางหมู่บ้านที่สัมผัสปรากฏว่าชาวบ้านมีน้อยมาก เมื่อสอบถามได้ความว่า ส่วนหนึ่งได้เดินทางไปทำงานที่ประเทศมาเลเซีย  เมื่อถึงวันสำคัญ เช่น วันตรุษอีดิลฟิตรี วันตรุษอีดิลอัฏฮา พวกเขาจึงจะเดินทางกลับมายังบ้านเกิดในประเทศเมียนมา   มีชุมชนหนึ่งปรากฏว่า มีการเปิดปอเนาะสอนศาสนาอิสลามให้กับเยาวชนชาวมลายู เมื่อสอบถามโต๊ะครูผู้สอน ปรากฏว่าเขาจบการศึกษาด้านศาสนามาจากปอเนาะแห่งหนึ่งในจังหวัดปัตตานี  แม้ว่าครอบครัวฝ่ายภรรยาจะเป็นครอบครัวนักธุรกิจที่มีชื่อเสียงของเกาะสอง แต่เขากลับมุ่งสู่การเป็นนักการศาสนา  จากการพูดคุย สอบถามถึงชุมชนชาวมลายูในเกาะสองและบริเวณใกล้เคียง ก็ได้รับคำตอบว่ามีชุมชนชาวมลายูอยู่ประมาณ 23 หมู่บ้าน ผู้เขียนเห็นว่าโต๊ะครูผู้นี้เขาเป็นผู้เสียสละอย่างยิ่ง เนื่องในโอกาสที่ผู้เขียนและเพื่อนๆจะจัดงานด้านวรรณกรรมในเดือนพฤศจิกายนที่จะถึงนี้ ผู้เขียนคิดว่าโต๊ะครูหนุ่มผู้นี้ สมควรที่จะได้รับการยอมรับรางวัลอะไรสักอย่างในฐานะนักการศึกษา

    ในประเทศไทยการรับรู้ถึงการมีอยู่ของชาวมลายูในประเทศเมียนมานั้น ยกเว้นชาวมุสลิมบริเวณจังหวัดระนองและจังหวัดใกล้เคียง  แทบจะเรียกได้ว่ามีน้อยมาก  จนบางคนกล่าวว่า เกาะสองไม่มีความสำคัญทางจิตวิญญาณ  ขณะที่ในประเทศมาเลเซีย อินโดเนเซีย  โดยเฉพาะผู้สนใจเกี่ยวกับโลกมลายูแล้ว ชุมชนชาวมลายูในประเทศเมียนมาอยู่ในหัวใจพวกเขาเสมอ  เช่น เนื่องในโอกาสวันตรุษอีดิลอัฏฮาปีนี้ มีเพื่อนชาวอินโดเนเซีย คือ คุณ Imbalo นักธุรกิจเจ้าของโรงเรียนมัธยม Hang Tuah และสถานีโทรทัศน์  Hang Tuah แห่งเกาะบาตัม  จังหวัดหมู่เกาะเรียว ประเทศอินโดเนเซีย  ก็ได้เดินทางไปเยี่ยมชุมชนชาวมลายู พร้อมมอบวัวกุรบานให้แก่ชุมชนชาวมลายูในเกาะสอง ประเทศเมียนมา  สำหรับสถาบันปอเนาะสำคัญๆในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้เอง ก็ได้กลายเป็นสถานที่ที่เยาวชนชาวมลายูในประเทศเมียนมาเดินทางมาเรียนทางศาสนาอิสลาม   แต่ที่สำคัญที่สุด เราสามารถรับรู้ถึงความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างชาวมลายูในประเทศมาเลเซียกับชาวมลายูในประเทศเมียนมา  ประชาคมอาเซียนกำลังจะเกิดขึ้น ธุรกิจการค้าบางครั้งก็ไม่ได้เข้าทางประตูหน้าเสมอไป ผู้เขียนจึงไม่แน่ใจว่านักธุรกิจชาวมลายูบางคนในประเทศมาเลเซียจะใช้เส้นทางสู่ประเทศเมียนมาโดยผ่านชาวมลายูในประเทศเมียนมาหรือเปล่า 

Rabu, 23 September 2015

Prasasti Kota Kapur


Oleh Nik Abdul Rakib Bin Nik Hassan
       Prasasti Kota Kapur adalah salah satu prasasti yang terpenting dalam pempejaran perkembangan Bahasa Melayu. Disini penulis muatkan maklumat tentang Prasasti Kota Kapur yang diambil dari Wikipedia,

Prasasti Kota Kapur adalah prasasti berupa tiang batu bersurat yang ditemukan di pesisir barat Pulau Bangka, di sebuah dusun kecil yang bernama "Kotakapur". Tulisan pada prasasti ini ditulis dalam aksara Pallawa dan menggunakan bahasa Melayu Kuno, serta merupakan salah satu dokumen tertulis tertua berbahasa Melayu. Prasasti ini dilaporkan penemuannya oleh J.K. van der Meulen pada bulan Desember 1892, dan merupakan prasasti pertama yang ditemukan mengenai Sriwijaya.

Orang pertama yang menganalisis prasasti ini adalah H. Kern, seorang ahli epigrafi bangsa Belanda yang bekerja pada Bataviaasch Genootschap di Batavia. Pada mulanya ia menganggap “Sriwijaya” adalah nama seorang raja. George Coedes-lah yang kemudian berjasa mengungkapkan bahwa Sriwijaya adalah nama sebuah kerajaan di Sumatra pada abad ke-7 Masehi, suatu kerajaan yang kuat dan pernah menguasai bagian barat Nusantara, Semenanjung Malaya, dan Thailand bagian selatan.

Hingga tahun 2012, prasasti Kota Kapur berada di Rijksmuseum (Museum Kerajaan) Amsterdam, negeri Belanda dengan status dipinjamkan oleh Museum Nasional Indonesia.

Prasasti Kota Kapur adalah salah satu dari lima batu prasasti kutukan yang dibuat oleh Dapunta Hyang, seorang penguasa dari Kadatuan Sriwijaya. Berikut ini isi lengkap dari Prasasti Kota Kapur, sebagaimana ditranskripsikan dan diterjemahkan oleh Coédes:

Terjemahan
Keberhasilan ! (disertai mantra persumpahan yang tidak dipahami artinya)
Wahai sekalian dewata yang berkuasa, yang sedang berkumpul dan melindungi Kadatuan Sriwijaya ini; kamu sekalian dewa-dewa yang mengawali permulaan segala sumpah !


Bilamana di pedalaman semua daerah yang berada di bawah Kadatuan  ini akan ada orang yang memberon­tak yang bersekongkol dengan para pemberontak, yang berbicara dengan pemberontak, yang mendengarkan kata pemberontak;
yang mengenal pemberontak, yang tidak berperilaku hormat, yang tidak takluk, yang tidak setia pada saya dan pada mereka yang oleh saya diangkat sebagai datu; biar orang-orang yang menjadi pelaku perbuatan-perbuatan tersebut mati kena kutuk biar sebuah ekspedisi untuk melawannya seketika di bawah pimpinan datu atau beberapa datu Sriwijaya, dan biar mereka
dihukum bersama marga dan keluarganya. Lagipula biar semua perbuatannya yang jahat; seperti meng­ganggu: ketenteraman jiwa orang, membuat orang sakit,

membuat orang gila, menggunakan mantra, racun, memakai racun upas dan tuba, ganja, saramwat, pekasih, memaksakan kehendaknya pada orang lain dan sebagainya, semoga perbuatan-perbuatan itu tidak berhasil dan menghantam mereka yang bersalah melakukan perbuatan jahat itu; biar pula mereka mati kena kutuk. Tambahan pula biar mereka yang menghasut orang
supaya merusak, yang merusak batu yang diletakkan di tempat ini, mati juga kena kutuk;

dan dihukum langsung. Biar para pembunuh, pemberontak, mereka yang tak berbakti, yang tak setia pada saya, biar pelaku perbuatan tersebut mati kena kutuk. Akan tetapi jika orang takluk setia kepada saya dan kepada mereka yang oleh saya diangkat sebagai datu, maka moga-moga usaha mereka diberkahi, juga marga dan keluarganya dengan keberhasilan, kesentosaan, kesehatan, kebebas­an dari bencana,

kelimpahan segala­nya untuk semua negeri mereka ! Tahun Saka 608, hari pertama paruh terang bulan Waisakha (28 Februari 686 Masehi), pada saat itulah
kutukan ini diucapkan; pemahatannya berlangsung ketika bala tantara Sriwijaya baru berangkat untuk menyerang bhumi jawa yang tidak takluk kepada Sriwijaya.

Prasasti ini dipahatkan pada sebuah batu yang berbentuk tugu bersegi-segi dengan ukuran tinggi 177 cm, lebar 32 cm pada bagian dasar, dan 19 cm pada bagian puncak.

Prasasti Kota Kapur adalah prasasti Sriwijaya yang pertama kali ditemukan, jauh sebelum Prasasti Kedukan Bukit yang baru ditemukan di Palembang pada tanggal 29 November 1920, dan Prasasti Talang Tuwo yang ditemukan beberapa hari sebelumnya yaitu pada tanggal 17 November 1920.

Berdasarkan prasasti ini Sriwijaya diketahui telah menguasai bagian selatan Sumatra, Pulau Bangka dan Belitung hingga Lampung. Prasasti ini juga menyebutkan bahwa Sri Jayanasa telah melancarkan ekspedisi militer untuk menghukum "Bhumi Jawa" yang tidak berbakti (tidak mau tunduk) kepada Sriwijaya.

Peristiwa ini cukup bersamaan waktunya dengan perkiraan runtuhnya Taruma di Jawa bagian barat dan Holing (Kalingga) di Jawa bagian tengah. Ada kemungkinan hal tersebut akibat serangan Sriwijaya. Sriwijaya tumbuh dan berhasil mengendalikan jalur perdagangan maritim di Selat Malaka, Selat Sunda, Laut Cina Selatan, Laut Jawa, dan Selat Karimata.

Prasasti Kota Kapur ini, beserta penemuan-penemuan arkeologi lainnya di daerah tersebut, merupakan peninggalan masa Sriwijaya dan membuka wawasan baru tentang masa-masa Hindu-Budha pada masa itu. Prasasti ini juga membuka gambaran tentang corak masyarakat yang hidup pada abad ke-6 dan abad ke-7 dengan latar belakang agama Buddha.

Rabu, 16 September 2015

Pantai Ini : Sebuah Puisi dari Patani, Selatan Thailand

Oleh Nik Abdul Rakib Bin Nik Hassan
 Disini dikemukakan sebuah puisi Melayu Patani bertajuk “Pantai Ini” Puisi ini dimuatkan di dalam buku Antologi Sajak Sajak Tunas-Tunas Menguntum. Buku ini diterbitkan pada Malam Kesusastraan Melayu 2 Tahun 1999 di Patani. Puisi “Pantai Ini” ini dikarang oleh  Alif Fikri.     
Di Patani
Tali rindu yang tersimpul
Dan wajah seorang anak
Lena dalam pelukan
Kenerian mimpi-mimpi

Berkali kali tersungkul
Mencari subur dan tanah
Mamik manik embun gersang
Gugur dipagi bergabus

Di pantai ini
Kita serulingkan lagu
Tanpa irama merdu dan lirik makna
Membiarkan bayur cina selatan

Menghilangkan nafas sesak
Antara dua persilangan kutub
Penghujung tidak berarah
Warna lukisan puba di dingin using
Dan kepastian yang tergantung
Dipucuk bunga rumput
Adalah fajar kehilangan matahari
Dan dalam keghairahan sinar purnama     




Sabtu, 5 September 2015

Prasasti Telaga Batu

Oleh Nik Abdul Rakib Bin Nik Hassan
       Prasasti Telaga Batu adalah salah satu prasasti yang terpenting dalam pempejaran perkembangan Bahasa Melayu. Disini penulis muatkan maklumat tentang Prasasti Telaga Batu yang diambil dari Wikipedia,

Prasasti Telaga Batu ditemukan di sekitar kolam Telaga Biru (tidak jauh dari Sabokingking), Kel. 3 Ilir, Kec. Ilir Timur II, Kota Palembang, Sumatra Selatan, pada tahun 1935. Prasasti ini sekarang disimpan di Museum Nasional dengan No. D.155. Di sekitar lokasi penemuan prasasti ini juga ditemukan prasasti Telaga Batu 2, yang berisi tentang keberadaan suatu vihara di sekitar prasasti.

Pada tahun-tahun sebelumnya ditemukan lebih dari 30 buah prasasti Siddhayatra. Bersama-sama dengan Prasasti Telaga Batu, prasasti-prasasti tersebut kini disimpan di Museum Nasional, Jakarta.

Prasasti Telaga Batu dipahatkan pada sebuah batu andesit yang sudah dibentuk sebagaimana layaknya sebuah prasasti dengan ukuran tinggi 118 cm dan lebar 148 cm. Di bagian atasnya terdapat hiasan tujuh ekor kepala ular kobra, dan di bagian bawah tengah terdapat semacam cerat (pancuran) tempat mengalirkan air pembasuh. Tulisan pada prasasti berjumlah 28 baris, berhuruf Pallawa, dan berbahasa Melayu Kuno.

Penafsiran prasasti
Tulisan yang dipahatkan pada prasasti cukup panjang, namun secara garis besar isinya tentang kutukan terhadap siapa saja yang melakukan kejahatan di kedatuan Sriwijaya dan tidak taat kepada perintah datu. Casparis berpendapat bahwa orang-orang yang disebut pada prasasti ini merupakan orang-orang yang berkategori berbahaya dan berpotensi untuk melawan kepada kedatuan Sriwijaya sehingga perlu disumpah.

Disebutkan orang-orang tersebut mulai dari putra raja (rajaputra), menteri (kumaramatya), bupati (bhupati), panglima (senapati), Pembesar/tokoh lokal terkemuka (nayaka), bangsawan (pratyaya), raja bawahan (hajiji pratyaya), hakim (dandanayaka), ketua pekerja/buruh (tuha an vatak = vuruh), pengawas pekerja rendah (addhyaksi nijavarna), ahli senjata (vasikarana), tentara (catabhata), pejabat pengelola (adhikarana), karyawan toko (kayastha), pengrajin (sthapaka), kapten kapal (puhavam), peniaga (vaniyaga), pelayan raja (marsi haji), dan budak raja (hulun haji).

Prasasti ini salah satu prasasti kutukan yang paling lengkap memuat nama-nama pejabat pemerintahan. Beberapa sejarahwan menganggap dengan keberadaan prasasti ini, diduga pusat Sriwijaya itu berada di Palembang dan pejabat-pejabat yang disumpah itu tentunya bertempat-tinggal di ibu kota kerajaan.

Soekmono berpendapat berdasarkan prasasti ini tidak mungkin Sriwijaya berada di Palembang karena adanya keterangan ancaman kutukan kepada siapa yang durhaka kepada kedatuan, dan mengajukan usulan Minanga seperti yang disebut pada prasasti Kedukan Bukit yang diasumsikan berada di sekitar Candi Muara Takus sebagai ibu kota Sriwijaya.