Rabu, 29 Ogos 2007

รัฐกลันตัน ประเทศาเลเซีย กับการใช้กฎหมายอิสลาม

โดย นิอับดุลรากิ๊บ  บินนิฮัสซีน
มีความพยายามที่จะดำเนินการนำหลักการชารีอะห์อิสลามมาใช้โดยพรรค PAS โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัฐกลันตันและรัฐตรังกานู นับตั้งแต่การก่อตั้งพรรค PAS ในปี1951 พรรค PAS มีความพยายามที่จะนำหลักการศาสนาอิสลามมาใช้ แต่การนำบางส่วนของหลักการซารีอะห์อิสลาม เริ่มมีผลให้เห็นนับตั้งแต่พรรค PAS ได้สามารถยึดครองรัฐกลันตันตั้งแต่ปี 1990 โดยพรรค PAS ได้พยายามทำให้รัฐกลันตันเป็นรัฐที่ปกครองตามหลักศาสนาอิสลาม มีการประกาศให้รัฐกลันตันเป็นรัฐระเบียงแห่งนครมักกะห์ ( Negeri Kelantan Negari Serambi Makkah) และประกาศให้เมืองโกตาบารู เมืองเอกของกลันตันเป็นเมืองอิสลาม หรือ Islamic City โดยมีชื่อเป็นทางการว่า เมืองโกตาบารู เมืองแห่งอิสลาม หรือ Kota Bharu Bandar raya Islam

หลักการของเมืองอิสลาม หรือ Islamic City คือการบริหารการปกครองเมืองโดยใช้หลักการศาสนาอิสลาม และเป็นการปกครองที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของคัมภีร์อัล-กุรอานและแบบอย่างของจริยวัตรศาสดาหรือที่เรียกว่า สุนนะห์ (Sunnah) ชาวมุสลิมนั้นมีความเชื่อว่าโลกหน้ามีจริง ดังนั้นชาวมุสลิมจึงมีทั้งโลกนี้และโลกหน้า คนที่ไม่ใช่มุสลิมจะปฏิบัติตามที่กฎหมายซึ่งมนุษย์สร้างขึ้นมาเท่านั้น สำหรับชาวมุสลิมนั้นจะปฏิบัติตามกฎหมายเพราะมีความเชื่อในพระเจ้า กฎหมายที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของคัมภีร์อัล-กุรอ่านและจริยวัตรของศาสดา จึงเป็นกฎหมายที่อยู่ในแนวทางของพระผู้เป็นเจ้า[1] ศาสนาอิสลามให้คนรักษาความสะอาด แต่ไม่ใช่เป็นเรื่องง่ายที่ให้ประชาชนทุกคนรักษาความสะอาด คนรุ่นเก่ายังสร้างความสกปรก มีแต่คนรุ่นใหม่เท่านั้นที่จะรักษาบ้านเมืองให้สะอาด กระบวนการสร้างเมืองโกตาบารูให้เป็นเมืองแห่งอิสลามจึงค่อยเป็นค่อยไป พรรค PASเริ่มกระบวนการสร้างเมืองแห่งอิสลามมานับตั้งแต่ชนะการเลือกตั้งปี 1990 ประกาศเป็นเมืองแห่งอิสลามอย่างทางการเมื่อวันที่ 1ตุลาคม 2005 และมีการตั้งเป้าหมายว่าเมืองโกตาบารูจะสามารถเป็นเมืองแห่งอิสลามที่สมบูรณ์ในปี 2015[2]

รัฐกลันตันกับการปกครองโดยใช้หลักการของศาสนาอิสลาม

การประกาศจัดตั้งเมืองโกตาบารูเป็นเมืองแห่งอิสลามนั้นแตกต่างจากการตั้งอยู่เมืองมาราวี(Islamic City of Marawi) ในฟิลิปปินส์ภาคใต้ การประกาศตั้งชื่อเมืองโกตาบารูว่าเป็นเมืองโกตาบารู เมืองแห่งอิสลามด้วยการพยายามใช้กฎหมายอิสลามในการบริหารการปกครองเมือง ส่วนเมืองมาราวี ตั้งขึ้นมาเพราะเป็นเมืองที่ชาวมุสลิมอาศัยอยู่เป็นชนกลุ่มใหญ่ สำหรับเมืองโกตาบารูนั้นทางรัฐบาลรัฐกลันตันได้ดำเนินการเพื่อทำให้เมืองโกตาบารูกลายเป็นเมืองแห่งอิสลาม โดยกล่าวว่าการพัฒนาและ การบริหารเป็นหัวใจหลักของรัฐบาลหนึ่งๆ มีหลักการบริหารว่าพัฒนาพร้อมกับอิสลาม หรือ Membangun bersama Islam มีความหมายว่าการนำโดยเน้นความรับผิดชอบทั้งในโลกนี้และโลกหน้า โดยใช้หลักของคัมภีร์อัล-กุรอ่านและสุนนะห์เป็นพื้นฐาน และนักปราชญ์ศาสนาเป็นแกนหลักของการวินิจฉัย โดยได้ดำเนินทางการทางยุทธศาสตร์ออกเป็น 3 ส่วนคือ[3]

1. โครงการการบริหารและการคลัง

2. โครงการพัฒนาอิสลาม

3.โครงการพัฒนาและความสงบสุขของประชาชน

รัฐบาลรัฐกลันตันได้ดำเนินการให้เป็นรูปธรรมของโครงการทั้งสาม หลังจากที่ได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งนับตั้งแต่ปี 1990 และครั้งล่าสุดในการเลือกตั้งปี 2004 การดำเนินการที่เป็นรูปธรรมนั้นมีดังนี้

1. โครงการการบริหารและการคลัง

1.1 สร้างวัฒนธรรมโดยการเปิดและปิดพิธีการต่างๆ โดยใช้หลักการอิสลาม นั้นคือ การเริ่มเปิดงานโดยการอ่านบท อัล-ฟาตีฮะห์ และปิดงานโดยการอ่านบทอัล-อัสรี[4]

1.2 อนุมัติหนังสือเวียนการบริหารอิสลามฉบับปี1994

1.3 ปิดสถานที่การพนัน

1.4 ปฏิบัติตัวตามหลักการอิสลามด้วยการแต่งกายที่มิดชิด(Aurat)

1.5 ควบคุมร้านตัดผม โดยหลีกเลี่ยงไม่ให้สตรีตัดผมผู้ชาย

1.6 ห้ามมีป้ายโฆษณาที่มีการโฆษณารูปภาพสตรีที่ท่าทางและการแต่งกายที่ขัดกับหลักการศาสนาอิสลาม

1.7 ไม่มีการอนุมัติใบอนุญาตเปิดสถานบันเทิง

1.8 ดำเนินการใหม่เกี่ยวกับใบอนุญาตขายเหล้า เริ่มตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 1993 โดยสุรา สิ่งมึนเมาทุกประเภทไม่อนุญาตให้มีการดื่มในที่สาธารณะ รวมทั้งในโรงแรม, ภัตตาคาร และ ร้านอาหาร อย่างไรก็ตามบุคคลที่ไม่ใช่มุสลิมสามารถดื่มที่บ้าน สถานที่พำนักของพวกเขา หรือ สถานที่ไม่ใช่สาธารณสถาน

1.9 มีการบริหารโรงแรมตามหลักศาสนาอิสลาม

1.10 มีการเปิดเคาเตอร์จ่ายเงินโดยแยกระหว่างสตรีกับผู้ชายในห้างสรรพสินค้า

1.11 มีการแยกที่นั่งกันระหว่างผู้ชายกับสตรีในงานที่เป็นทางการต่างๆ

1.12 มีการให้เงินกู้ยืมแก่เจ้าหน้าที่ของรัฐบาลโดยใช้หลักการศาสนาอิสลาม

1.13 แยกบัญชีระหว่างบัญชีฮาลาล หรือบัญชีถูกตามหลักการศาสนาอิสลามกับบัญชีฮาราม หรือบัญชีผิดตาหลักการศาสนาอิสลาม

1.14 ทำงานวันละ 5 วันต่อสัปดาห์ (วันหยุดคือ วันศุกร์และวันเสาร์ ขณะที่รัฐอื่นวันหยุดคือ วันเสาร์และวันอาทิตย์)

1.15 ลาคลอดมีการขยายเวลาจาก 42 วัน เป็น 60 วัน

1.16 เวลาทำงานในช่วงเดือนถือศีลอดทำให้สั้นลง โดยไม่มีเวลาพักเที่ยงในเดือนรอมฏอน

1.17 มติผ่าน พ.ร.บ. การควบคุมการบันเทิงของรัฐกลันตัน ฉบับปี 1998 โดยการเน้นคุณค่าของศาสนาอิสลาม

1.18 ควบคุมเวลาการดำเนินธุรกิจในช่วงเวลามักริบ[5] เพื่อให้พ่อค้าแม่ค้าสามารถประกอบการละหมาดได้

1.19 มีการโอนบัญชีเงินฝากของรัฐบาลท้องถิ่นจากระบบธนาคารที่มีดอกเบี้ยมาเป็นระบบธนาคารปลอดดอกเบี้ย

1.20 สร้างโรงรับจำนำตามระบบอิสลาม หรือที่เรียกว่า อัล-ราฮัน (Al-Rahn)

1.21 จัดตั้งกองทุนระเบียงมักกะห์ (Tabung Serambi Mekah)



2. โครงการพัฒนาอิสลาม

2.1 โครงการที่ได้รับการอนุมัติจากทางรัฐบาลท้องถิ่นรัฐกลันตัน

2.2 จัดตั้งหน่วยเผยแพร่ศาสนาอิสลาม

2.3 เพิ่มจำนวนครูสอนคัมภีร์อัล-กุรอ่านและฟาร์ดูอิน[6]

2.4 ดำเนินกิจกรรมต่างๆโดยร่วมมือกับองค์กรต่างๆที่เผยแพร่ศาสนา

2.5 เพิ่มกิจกรรมเผยแพร่ศาสนาอิสลามโดยผ่านหน่วยงานของรัฐ

2.6 โครงการเผยแพร่ศาสนาโดยผ่านกรรมการฝ่ายประชาสัมพันธ์ในระดับองค์กรบริหารส่วน

ท้องถิ่น เช่น เทศบาล, อำเภอ

2.7เพิ่มประสิทธิภาพของฝ่ายเผยแพร่ศาสนาในสำนักงานกิจการอิสลาม

2.8ส่งเสริมการเข้าร่วมของบุคคลที่ไม่ใช่มุสลิมในงานพิธีการสำคัญของทางศาสนาอิสลามและพิธี

ทางการของรัฐบาลท้องถิ่น

2.9 รณรงค์การแต่งกายปกปิดตามหลักศาสนาอิสลาม

2.10โครงการอิฮฺยารอมฎอน[7]

2.11โครงการอิมาเราะห์มัสยิด[8]

2.12โครงการต้อนรับวันฮูดุด[9]

2.13 โครงการเดือนแห่งการละหมาด

2.14 จัดท่องเที่ยวในเดือนรอมฎอน

2.15 จัดตั้งกองทุนอัล-กอร์ดูล ฮัสซันในมัสยิดต่างๆ

2.16 ขจัดการค้าประเวณี

2.17 จัดตั้งวิทยาลัยอิสลามนานาชาติสุลต่านอิสมาแอลปุตรา มีสถานะเทียบเท่ามหาวิทยาลัย

2.18 จัดตั้งสถาบันมาอาฮัดตะห์ฟีซอัล-กุรอ่าน[10]

2.19 การแทรกกิจกรรมศิลปะและวัฒนธรรมอิสลามเข้าในงานวัฒนธรรมประจำปีของรัฐกลันตัน

2.20 ลงมติผ่าน พ.ร.บ. กฎหมายอาชญากรรมชารีอะห์ II (ฉบับปี1983) ของสภานิติบัญญัติแห่งรัฐกลันตัน

2.21 ออกนโยบายวัฒนธรรมแห่งรัฐโดยตั้งบนพื้นฐานของหลักการอิสลาม(ฉบับปี1998)

2.22 ดำเนินการอย่างเข้มงวดให้เป็นไปตามหลักการอิสลาม ของนโยบายควบคุมการบันเทิงของรัฐกลันตัน ฉบับปี 1998 และให้ความสำคัญกับจริยธรรมอิสลามในกฎข้อบังคับควบคุมการบันเทิง ฉบับปี1999

2.26 ให้ปฏิบัติตาม พ.ร.บ. ครอบครัวอิสลาม ฉบับปี 1993 ฉบับแก้ไขปี1999

3.โครงการพัฒนาและความสงบสุขของประชาชน

3.1 เพิ่มประสิทธิภาพของสำนักงานพัฒนาแห่งรัฐในการดำเนินโครงการต่างๆ

3.2 เพิ่มบทบาทของสำนักที่ดินและอำเภอ (มีสถานะคล้ายที่ว่าการอำเภอในประเทศไทย)

3.3 ดำเนินโครงการสาธารณประโยชน์ เช่น สร้างถนน ยกระดับถนน สร้างสะพาน ฯลฯ

3.4 มีการเปิดประมูลสัมปทานป่าไม้โดยการเปิดเผย

3.5 นโยบายประหยัดในการใช้จ่ายงบประมาณแผ่นดิน

3.6 นโยบายตะอาวุน[11]ในการดำเนินการโครงการต่างๆ

3.7 ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ยากจนโดยผ่านองค์กรของรัฐบาลท้องถิ่น เช่น YAKIN, PKINK และ KPK

เมื่อครั้งที่อยู่ในช่วงของการหาเสียงเลือกตั้งทั้งในระดับสภานิติบัญญัติแห่งรัฐและสภาผู้แทนราษฎรนับตั้งแต่ปี 1990 พรรคแนวร่วมแห่งชาติได้สร้างภาพของพรรค PAS จนทำให้กลุ่มชนส่วนน้อยบางส่วนเกิดความกลัวต่อการปกครองของพรรค PAS ที่จะนำหลักการของศาสนาอิสลามมาใช้ภายในรัฐกลันตัน ปรากฏว่าเมื่อพรรค PAS ชนะการเลือกตั้งในปีดังกล่าว รัฐกลันตันเริ่มเกิดการเปลี่ยนแปลง สถานที่บันเทิง สถานที่เป็นแหล่งอบายมุข การพนัน เริ่มหายไปจากรัฐกลันตัน การเล่นการพนันของชาวรัฐกลันตันลดลง แต่ไม่ได้หายขาดไป เพราะผู้เปิดการเล่นการพนันไม่ว่าจะมาจากท้องถิ่น หรือเป็นตัวแทนจากกรุงกัวลาลัมเปอร์ ได้ย้ายฐานการรับแทงการพนันดังกล่าวไปยังอำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส

เกิดกระบวนการขัดเกลาจิตใจของประชาชนให้หันเข้าหาศาสนามากขึ้น จากการดำเนินการโครงการต่างๆของรัฐบาลรัฐกลันตันตามที่กล่าวมาข้างต้น สามารถเห็นได้อย่างชัดเจนว่า รัฐบาลรัฐกลันตันประสบความสำเร็จในการทำให้รัฐกลันตันมีการบริหารการปกครองที่สะอาดขึ้นกว่าเดิม ถึงอย่างไรก็ตาม แม้ว่านายนิอับดุลอาซีซ บินนิมัต ผู้เป็นมุขมนตรีรัฐกลันตัน จะเป็นนักการศาสนา เป็นนักการเมืองที่ใช้ศาสนาอิสลามเป็นพื้นฐานในการปกครอง มีความโปรงใสในการบริหารการปกครอง

แต่มิได้หมายความว่าบุคคลแวดล้อมของเขาจะมีทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติงานทุกคนจะมีลักษณะเช่นเขา ครั้งหนึ่งรัฐบาลรัฐกลันตันถูกโจมตีเรื่องความไม่โปรงใสในการประมูลสัมปทานป่าไม้ ซึ่งป่าไม้นั้นอยู่ในอำนาจของรัฐบาลท้องถิ่น ปรากฏว่ามีการเล่นพรรค เล่นพวก จนอดีตรองมุขมนตรีของรัฐกลันตันผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการป่าไม้ถูกโจมตี ทำให้มุขมนตรีต้องนำอำนาจหน้าที่การรับผิดชอบการป่าไม้เข้าอยู่ภายในอำนาจของตนเอง

การที่รัฐกลันตันได้ออกนโยบายควบคุมการบันเทิงของรัฐกลันตัน ฉบับปี 1998 และกฎข้อบังคับควบคุมการบันเทิง ฉบับปี1999 ทำให้ศิลปวัฒนธรรมของรัฐกลันตันบางส่วนต้องห้ามในการละเล่นภายในรัฐกลันตัน ซึ่งศิลปวัฒนธรรมบางอย่างสมควรที่จะมีการอนุรักษ์เพื่อชนรุ่นต่อไป ปรากฏว่ารัฐกลันตันมีนโยบายเกี่ยวกับศิลปะและวัฒธรรม มีการห้ามละเล่นศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่เห็นว่าขัดกับหลักการศาสนาอิสลาม[12] ซึ่งการละเล่นดังกล่าวเช่น

1. เล่นดีเกร์บารัต หรือที่คนในจังหวัดชายแดนภาคใต้รู้จักกันในนามของดีเกร์ฮูลู นั้นให้ปฏิบัติตาม พ.ร.. ควบคุมการบันเทิงของรัฐกลันตัน ฉบับปี 1991 โดยมีการห้ามมีนักแสดงผู้หญิงเข้าร่วมในการแสดงด้วย

2. ห้ามการละเล่นมะโหย่ง

3. ห้ามการละเล่นมโนราห์

4. ห้ามการละเล่นปุตรี

การออกพ.ร.บ.กฎหมายอาชญากรรมชารีอะห์ของรัฐบาลรัฐกลันตัน ก็เป็นสิ่งหนึ่งในการสร้างคะแนนนิยมต่อพรรค จนทำให้เกิดความขัดแย้งกับรัฐบาลสหพันธรัฐที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ ถึงแม้ว่าพ.ร.บ.กฎหมายอาชญากรรมชารีอะห์ฉบับนี้จะผ่านการลงมติของสภานิติบัญญัติแห่งรัฐแล้ว แต่รัฐบาลกลางได้ส่งหนังสือระงับการปฏิบัติ ด้วยเห็นว่ามีบทบัญญัติที่ค่อนข้างรุนแรง ซึ่งตัวอย่างเช่น

พ.ร.บ. กฎหมายอาชญากรรมชารีอะห์ II (ฉบับปี1983) ใช้หลักการศาสนาอิสลามในการตัดสินความผิด ตอนที่ 1 ความผิดตามกฎหมายฮูดุด

มาตรา 4 ความผิดตามกฎหมายฮูดุดมี 1.การขโมย 2.การปล้น 3. การผิดประเวณี 4. การกล่าวหาผู้อื่นว่าผิดประเวณีโดยไม่มีพยานเป็นจำนวน 4 คน 5.การดื่มสุรา หรือสิ่งมึนเมา 6. การออกจากการนับถือศาสนาอิสลาม

บทลงโทษเมื่ออยู่ในเกณฑ์ที่ทางศาลชารีอะห์ได้กำหนดไว้เช่น การตัดสินความผิดเกี่ยวกับการขโมย เมื่อมูลค่าสิ่งที่ขโมยอยู่ในเกณฑ์ที่ศาลชารีอะห์ได้กำหนดไว้ ผู้ที่กระทำความผิดในครั้งที่ 1 มีโทษตัดมือมือขวา กระทำความผิดในครั้งที่ 2 มีโทษตัดมือซ้าย และกระทำผิดครั้งที่ 3 มีโทษจำคุกเพื่อให้ผู้กระทำความผิดสำนึกในการกระทำดังกล่าว

สรุปได้ว่าการที่รัฐบาลรัฐกลันตันได้พยายามใช้กฎหมายที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของศาสนาอิสลามนั้น สามารถทำให้รัฐกลันตันมีการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดี แม้ว่ากระบวนการขัดเกลาจิตใจของประชาชนในการให้ดำรงวิถีชีวิตโดยความสมดุลระหว่างวัตถุนิยมกับจิตนิยมจะยังไม่สมบูรณ์ แต่สามารถทำให้บรรลุเป้าหมายได้ระดับหนึ่ง กระแสความเป็นอิสลามนิยมในรัฐกลันตัน มีส่วนเป็นอย่างมากที่นายอับดุลเลาะห์ อาหมัด บาดาวีจำต้องประกาศหลักการอิสลามฮาดารี (Islam Hadhari)เพื่อถ่วงดุลกับแนวความคิดอิสลามแบบรัฐกลันตัน สำหรับชนกลุ่มน้อยในรัฐกลันตัน ไม่ว่าจะเป็นชนชาวจีน ชาวอินเดีย และชาวมาเลเซียเชื้อสายไทยพุทธนั้น นโยบายต่างๆของรัฐกลันตันไม่มีผลกระทบต่อชนกลุ่มน้อยดังกล่าว ในทางกลับกันรัฐบาลรัฐกลันตันได้พยายามสร้างความสมานฉันท์ระหว่างชนชาวมลายูกับชนกลุ่มน้อยต่างๆ ชนกลุ่มน้อยสามารถติดต่อประสานงานกับหน่วยงานรัฐต่างๆของรัฐกลันตันได้ดีขึ้น เพราะการติดสินบนหรือที่เกี่ยวข้องกับสิ่งผิดหลักการของศาสนาอิสลามได้ลดลงแตกต่างจากอดีตเป็นอย่างมาก.

[1] สัมภาษณ์ Dato’ Nik Abdul Aziz Bin Nik Mat มุขมนตรีรัฐกลันตัน ณ สำนักงานมุขมนตรีรัฐกลันตัน เมืองโกตาบารู เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2549

[2] สัมภาษณ์นาย Nik Mahadi Bin Nik Mahmud หัวหน้าสำนักเลขาธิการเทศบาลเมืองโกตาบารู เมืองแห่งอิสลาม (Sekretariat Kota Bharu Bandar aya Islam) เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2549

[3] Pusat Kajian Strategik.2005.Dasar-Dasar Utama Kerajaan Negeri Kelantan.Kota Bharu:Urusetia Penerangan Kerajaan Negeri Kelantan. หน้า 6-10

[4] บททั้งสองเป็นบทในคัมภีร์อัล-กุรอ่าน

[5] ชาวมุสลิมทำพิธีศาสนกิจหรือการละหมาด 5 เวลา คือ เวลาก่อนรุ่งอรุณ(ซุบุห์), เวลาหลังเที่ยง(ซูฮูร์), เวลาตอนบ่าย(อัสร์), เวลาหลังพลบค่ำ(มักริบ) และเวลากลางคืน(อิซา)

[6] สิ่งที่ศาสนาอิสลามบังคับให้มุสลิมทุกคนต้องปฏิบัติ

[7] การสร้างกิจกรรมทางศาสนาในเดือนรอมฎอน

[8] การสร้างชีวิตชีวาให้แก่มัสยิดด้วยการทำกิจกรรมทางศาสนาอิสลาม

[9] วันการผ่าน พ.ร.บ. กฎหมายอาชญากรรมชารีอะห์ II (ฉบับปี1983) ของรัฐกลันตัน

[10] เป็นสถานการศึกษาที่ใช้วิธีท่องคัมภีร์อัล-กุรอ่านให้จำทั้งเล่ม


[11] ตะอาวุน เป็นภาษาอาหรับแปลว่า การให้ความร่วมมือในทางที่ดี ซึ่งในที่นี้เป็นการให้ความร่วมมือของปัจเจกบุคคล และหน่วยงานรัฐ เพราะปัญหความไม่ร่วมมือมีสูง ด้วยปัจจัยความแตกต่างกันของความคิดทางการเมือง

พรรคการเมืองในอดีตของประเทศมาเลเซีย

โดย Nik Abdul Rakib Bin Nik Hassan

อิทธิพลทางการเมืองจากอินโดนีเซีย
นอกจากอิทธิพลที่ได้รับจากตะวันออกกลางแล้ว อิทธิพลจากอินโดนีเซียถือได้ว่าเป็นอิทธิพลจากภายนอกของมาลายา(มาเลเซียในปัจจุบัน)ที่ใกล้ที่สุด และทั้งสองสังคมยังมีวัฒนธรรมภาษาพูดที่เหมือนกันอีกด้วย ในปี 1909 ได้มีการจัดตั้งองค์กรทางเศรษฐกิจขึ้นในอินโดเนเซีย ชื่อว่า Sarekat Dagang Islam โดยมีผู้นำชื่อว่า Raden Mas Tirtoadisoeryo ต่อมาองค์กรนี้ถูกฮอลันดาห้ามไม่ให้มีการเคลื่อนไหว ในปี 1912 ได้มีการจัดตั้งองค์กรที่ชื่อว่า Sarekat Islam โดย Haji Agoes Salim และ Umar Said Tjokroaminoto การจัดตั้งองค์กรนี้เพื่อยกฐานะทางเศรษฐกิจของชาวอินโดนีเซีย ต่อมามีการขยายตัวจนกลายเป็นพรรคการเมืองหนึ่งที่มีผู้สนับสนุนกว่า 8 แสนคน อิทธิพลของ Sarekat Islam ไม่เพียงมีในอินโดนีเซียเท่านั้น ในปี 1921 ทาง Haji Agoes Salim ได้เขียนจดหมายไปยังผู้นำชุมชนคนหนึ่งในสิงคโปร์ที่ชื่อว่า Haji Ibrahim bin Sidin โดยแจ้งว่า ถ้าเขาเห็นชอบด้วยขอให้มีการจัดตั้ง“สาขา”ของ Sarekat Islam ในแหลมมลายู ทาง Haji Ibrahim จึงเดินทางไปรัฐโยโฮร์เพื่อจัดตั้งสาขาของ Sarekat Islam แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ในปี 1928 มีการต่อต้านอังกฤษที่ตรังกานูภายใต้ชื่อองค์กรว่า Sarekatul Islam โดยมีผู้นำที่ชื่อว่า Sajid Muhammad ซึ่งเป็นคนจากรัฐโยโฮร์ ถือเป็นการสืบทอดองค์กร Sarekat Islam ที่ได้เผยแพร่แนวความคิดยังรัฐโยโฮร์ เมื่อมีการจัดตั้งพรรค Parti Nasional Indonesia โดยซูการ์โนแล้ว แนวความคิดการต่อสู้เพื่อเอกราชของอินโดนีเซียได้เผยแพร่ไปยังมาลายา มีการร่วมมือกันระหว่างนักต่อสู้ชาตินิยมอินโดนีเซียกับนักต่อสู้ชาตินิยมในมาลายา

องค์กรแนวการเมืองสมัยก่อนได้รับเอกราช
การจัดตั้งสมาคมมลายูสิงคโปร์( Kesatuan Melayu Singapura ) ในวันที่ 14 พฤษภาคม 1926 กลุ่มชาวมลายูสิงคโปร์ที่ได้รับการศึกษาจากระบบการศึกษาอังกฤษได้จัดตั้งองค์กรกึ่งพรรคการเมืองโดยใช้ชื่อว่า Kesatuan Melayu Singapora ผู้ก่อตั้งองค์กรนี้ชื่อว่า Muhammad Eunos bin Abdullah ส่วนผู้ที่เป็นรองประธานคือ Haji Muhammad Yusof bin Haji Said, นาย Muhammad Eunos bin Abdullah ได้รับการแต่งตั้งเป็นสมาชิกของสภาบริหารแห่ง Straits Settlement ในปี 1924 หลังจากนั้นผู้คนจึงเห็นความสำคัญของการมีองค์กรของชาวมลายู
มีการจัดตั้งองค์กรในระดับรัฐหลายองค์กร เช่น สมาคมมลายูรัฐเปรัค( Persatuan Melayu Perak ) เมื่อ 18 กันยายน 1937, สมาคมมลายูรัฐปาหัง( Persatuan Melayu Pahang ) เมื่อเดือนมีนาคม 1938, สมาคมมลายูรัฐสลังงอร์( Persatuan Melayu Selangor )เมื่อ 5 มิถุนายน 1938, สมาคมมลายูรัฐนิกรีซัมบีลัน( Persatuan Melayu Negeri Sembilan ) เมื่อ 9 กันยายน 1938, สมาคมมลายูรัฐกลันตัน ( Persatuan Melayu Kalantan ) เมื่อ 20 เมษายน 1939

Kesatuan Melayu Muda ( สมาคมมลายูหนุ่ม )
ในเดือนพฤษภาคม 1937 กลุ่มนักชาตินิยมมลายูที่ได้รับการศึกษาระบบมลายู และได้รับอิทธิพลจากขบวนการชาตินิยมอินโดนีเซียได้จัดตั้งพรรคการเมืองชื่อ Kesatuan Melayu Muda ที่กัวลาลัมเปอร์และได้มีการจดทะเบียนเป็นพรรคการเมืองเมื่อเดือนสิงหาคม 1938 พรรค KMM เป็นพรรคแนวคิดฝ่ายซ้าย มีนาย Ibrahim bin Haji Yaakob เป็นผู้ก่อตั้งและเป็นประธานของ KMM มีนาย Ishak Haji Muhammad นักเขียนเจ้าของนามปากกาว่า Pak Sako เป็นแกนนำ ภายหลังเมื่อญี่ปุ่นยึดครองมาลายา ในเดือนมิถุนายน 1942 ทางญี่ปุ่นจึงยุบ KMM

Kesatuan Rakyat Indonesia Semenanjung (KRIS)
องค์กรนี้มีความหมายในภาษาไทยว่า สมาคมประชาชนอินโดนีเซียแห่งแหลมมลายู โดยเมื่อใกล้สงครามโลกครั้งที่ 2 จะยุติโดยญี่ปุ่นแพ้สงคราม นาย Ibrahim bin Haji Yaakob ได้จัดตั้งองค์กรขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม 1945 โดยใช้ชื่อว่า Kesatuan Rakyat Indonesia Semenanjung ในวันที่ 22 สิงหาคม 1945 ผู้นำของ KRIS ได้เดินทางไปพบกับ ซูการ์โน –ฮัตตา เพื่อเจรจากันประกาศเอกราชร่วมกัน โดยต้องการให้มาลายาเป็นส่วนหนึ่งของอินโดนีเซีย แต่แผนการดังกล่าวใม่ประสบผลสำเร็จ เพราะทางญี่ปุ่นประกาศแพ้สงคราม ทำให้มีแต่อินโดนีเซียที่ได้ประกาศเอกราช ส่วนนาย Ibrahim bin Haji Yaakob ได้หลบหนีไปยังอินโดนีเซีย เขาเสียชีวิตที่อินโดนีเซีย ศพของเขาถูกฝังที่สุสานนักรบแห่งชาติของอินโดนีเซีย

พรรคการเมืองแนวซ้าย
Parti Kebangsaan Melayu Malaya (PKMM) พรรคมลายูแห่งชาติมาลายา พรรคนี้ได้รับการจัดตั้งเมื่อ 17 ตุลาคม 1945 ที่เมืองอีโปห์ รัฐเปรัค เป็นการจัดตั้งที่ประกอบด้วยกลุ่มบุคคล 2 ส่วน คือ กลุ่มนาย Ahmad Boestamam และนาย Ishak Haji Muhammad หรือ Pak Sako ที่เป็นกลุ่มชาตินิยม และกลุ่มนาย Mokharuddin Lasso ที่มีแนวคิดคอมมิวนิสต์ พรรค PKMM ที่มีผู้นำชื่อ Mokharuddin Lasso มีการจัดประชุมสมัชชาของพรรคที่เมืองอีโปห์ ระหว่างวันที่ 30 พฤศจิกายน – 3 ธันวาคม 1945 โดยนโยบายของ PKMM มีดังนี้

1. รวมชนเชื้อชาติมลายู สร้างจิตสำนึกชาตินิยมในหมู่ชาวมลายู และเพื่อรวมมลายาเข้าในสาธารณรัฐอินโดนีเซีย( Republik Indonesia Raya )
2. เพื่อให้ได้รับความอิสระในการโต้วาที, เคลื่อนไหว,ประชุม,คิดและเรียนรู้
3. ฟื้นฟูเศรษฐกิจชาวมลายูโดยชัดเจน พัฒนาการประกอบการ, การค้าและการเกษตร พร้อมยกระดับฐานะความเป็นอยู่ของชาวมลายู
4. มีความอิสระในการเพาะปลูก คนที่ต้องการเพาะปลูกต้องปลอดจากการเช่าที่ดินในทุกเมื่อ และที่ไหน็ตาม และมีอิสระในการขายผลิตผลของเขาที่ตลาดการค้า
5. ต้องให้ความอิสระต่อคนมลายูในการสร้างโรงเรียนแห่งชาติของเขา นั่นคือ สถานที่พวกเขาได้รับการศึกษาและภาษาฟรี
6. มีความอิสระในการพิมพ์หนังสือเอง สนับสนุนการศึกษาโดยประชาธิปไตยเพื่อยกฐานะความเป็นอยู่ของชนชาวมลายู ในทางการเมืองเพื่อสร้างความรู้สึกภาคภูมิต่อคนมลายู
7. PKMM จะร่วมมือกับชนชาติอื่นที่อาศัยอยู่ในรัฐนี้ดำรงชีวิตด้วยความราบรื่นและร่วมกันสร้างความเป็นเอกภาพของประชาชนมลายา ( Malayan United Front ) เพื่อทำให้มลายาที่เอกราชมีความอุดมสมบูรณ์และสงบสุขในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐอินโดนีเซีย( Republik Indonesia )
8. สนับสนุนขบวนการประชาชนอินโดนีเซียในการต่อสู้ของพวกเขาในการได้รับเอกราช
พรรคแนวศาสนา

พรรคฮิสบุลมุสลีมีน Hizbul Muslimin
พรรค Hizbul Muslimin พรรคนี้ถือว่าเป็นพรรคแนวศาสนาอิสลามพรรคแรกของมลายา พรรคได้รับการจัดตั้งหลังจากที่มีการประชุมสมัชชาระหว่างวันที่ 13 – 16 มีนาคม 1948 ที่โรงเรียน Ma'ahad Il-Ihya As-Syariff, Gunung Semanggol รัฐเปรัค พรรคนี้จัดตั้งโดย Haji Abu Bakar Al-Baqir พรรคนี้มีอายุเพียงไม่ถึงปี ปรากฎว่าบรรดาผู้รำของพรรคถูกจับกุมด้วยขณะนั้นบ้านเมืองอยู่ในระยะการประกาศอัยการศึก เมื่อพรรคนี้ได้ถูกยุบไปแล้ว ต่อมากลุ่มบุคคลนี้ได้ดำเนินการจัดตั้งพรรค PAS ( Parti Islam Semalaya )ดังนั้นอุดมการณ์การต่อสู้ของพรรค Hizbul Muslimin จึงได้รับการสืบทอดโดยพรรค PAS โดยพรรค PAS เกิดขึ้นจากการประชุมของ Persatuan Ulama Semalaya ที่กัวลาลัมเปอร์เมื่อ 23พฤศจิกายน 1951 โดยพรรค PASถูกจัดตั้งขึ้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 1951 โดยมีนาย Ahmad Fuad (หัวหน้าฝ่ายศาสนาอิสลามของพรรคUMNO ) เป็นประธานพรรคคนแรก

Laporan Pak Masnur Muslich dari Universitas Negeri Malang semasa di Prince of Songkla University, Pattani.


Oleh Masnur Muslich
LAPORAN AKHIR PELAKSANAAN TUGAS
DI PRINCE OF SONGKHLA UNIVERSITY (PSU), KAMPUS PATTANI, THAILAND

Kedatangan kami yang diantar oleh dua petugas Konsulat RI Songkhla di PSU Kampus Pattani pada 26 Juni 2006 disambut oleh Dekan Fakultas Ilmu-ilmu Sosial dan Humaniora (Faculty of Humanities and Social Sciences) dan Ketua Jurusan Bahasa-bahasa Asia Timur. Setelah kami memperkenalkan diri dan menyampaikan tujuan kedatangan kami, secara teknis kami diperbantukan oleh pihak Fakultas untuk terlibat dalam penanganan Program Studi Pengkajian Melayu (Malay Studies), khususnya membina matakuliah yang silabusnya terdapat topik-topik yang berkaitan dengan masalah Nusantara dana/atau Indonesia.

Hasil pembicaraan kami yang diikuti dengan penugasan ini berimpilkasi bahwa rencana yang telah kami persiapkan untuk membina matakuliah “Bahasa Indonesia” bagi penutur Thai dan matakuliah “Indonesian Studies” tidak bisa dilaksanakan. Yang bisa kami lakukan adalah menyisipkan materi “ke-Indonesia-an” ke dalam matakuliah-matakuliah yang silabusnya terdapat topik-topik yang berkaitan dengan masalah Nusantara dan/atau Indonesia. Kondisi yang kami anggap “tantangan” ini mendorong kami untuk bisa “berkreasi” lebih lanjut agar visi dan misi kami bisa tercapai secara maksimal, dengan memanfaat kondisi yang ada.

2.2.1 Orientasi
Sebelum tugas pokok kami laksanakan, kami mengadakan orientasi singkat yang kami arahkan pada tiga hal, yaitu (1) gambaran umum tentang PSU Kampus Pattani, (2) gambaran umum tentang program Melayu Studies, dan (3) gambaran umum tentang mahasiswa program Melayu Studies. Berdasarkan orientasi ini, kami akan menentukan program dan langkah-langkah konkret selama enam bulan terkait dengan visi, misi, dan tujuan penugasan kami di PSU Kampus Pattani.

Hasil orientasi singkat tersebut terdeskripsikan sebagai berikut.
(1) Gambaran Umum PSU Kampus Pattani

PSU Kampus Pattani merupakan bagian dari PSU yang berada di Thailand Selatan. PSU ini mempunyai tiga kampus, yaitu PSU Hat Yai Campus, PSU Phuket Campus, dan PSU Pattani Campus. Masing-masing kampus mempunyai fakultas dan jurusan/program studi tersendiri.

PSU Hat Yai Campus mempunyai lima fakultas, yaitu (1) Fakultas Agro Industri (Faculty of Agro-Industry), (2) Fakultas Ilmu Kedokteran (Faculty of Medicine), (3) Fakultas Ilmu Keperawatann (Faculty of Nursing), (4) Fakultas Ilmu Pengetahuan Alam (Faculty of Sciences), dan (5) Fakultas Ilmu Managemen (Faculty of Management Sciences).

PSU Phuket Campus mempunyai satu fakultas, yaitu Fakultas Ilmu Industri Jasa (Faculty of Service Industies).

PSU Pattani Campus memiliki empat fakultas dan dua lembaga setingkat fakultas yang diberi nama “College” dan “Institut”, yaitu (1) Fakultas Ilmu Pendidikan (Faculty of Education), (2) Fakultas Ilmu Komunikasi (Faculty of Communication Science ), (3) Fakultas Ilmu Sosial dan Humaniora (Faculty of Humanities and Social Sciences), (4) Fakultas Ilmu Pengetahuan Alam dan Teknologi (Faculty of Science and Technology), (5) College of Islamic Studies (CIS), dan (6) Institute of South East Asia Maritim State Studies.

Dari ketiga kampus ini yang menjadi induknya adalah PSU Hat Yai Campus, walaupun masing-masingnya dikelola secara tersendiri.

Selain kegiatan akademik atau intra kurikuler, PSU Kampus Pattani juga mengagendakan kegiatan ekstra kurikuler secara intensif dan rutin, baik yang berkaitan dengan seni-budaya maupun sosial-ekonomi, baik yang dilaksanakan pada tingkat universitas maupun pada tingkat fakultas. Kegiatan ekstra yang dimaksud antara lain sebagai berikut.

Pasar Malam Kampus” (semacam Ekspo Pembangunan di Malang) yang dilaksanakan dua kali setahun. Tujuan utama kegiatan ini adalah mendekatkan atau mengakrabkan kampus dan masyarakat luas. Pihak PSU menyediakan ratusan stand bertenda yang siap diisi oleh siapa saja yang berminat. Setiap fakultas memamerkan produk unggulan masing-masing. Mahasiswa pun diberikan kesempatan untuk berkreasi semaksimalnya, baik pertunjukan seni, maupun keterampilan lainnya.

Open PSU” yang dilaksanakan setiap semester, yang waktunya disesuaikan dengan liburan sekolah. Tujuan utama kegiatan ini adalah memperkenalkan secara lebih dekat berbagai program yang terdapat di PSU. Para pengunjung pada acara ini tidak hanya siswa setingkat SMA tetapi juga siswa setingkat SD dan SMP.

Pusat Pelayanan Masyarakat” yang terdapat pada setiap fakultas dan/atau program studi. Tujuan utama kegiatan ini adalah memberikan konsultasi secara profesional kepada masyarakat sesuai dengan bidang masing-masing.

Dari serangkaian agenda ekstra kurikuler tersebut, kami bisa memanfaatkannya terkait dengan visi dan misi kami selama enam bulan di kampus ini, dalam program yang sinergis.

(2) Gambaran Umum Program Melayu Studies

Program Studi Melayu Studies merupakan program di bawah Jurusan Bahasa-bahasa Asia Timur. Jurusan ini mempunyai enam program, yaitu Program Bahasa Thailand, Program Bahasa Jepang, Program Bahasa Korea, Program Bahasa Cina, Program Bahasa Melayu, dan Program Pengkajian Melayu (Malay Studies). Dari kelima program tersebut, Program Pegkajian Melayu merupakan program termuda, bediri pada tahun 1998. Setiap tahun hanya membuka satu kelas. Jumlah setiap kelas tidak merata karena tergantung pada jumlah peminat ketika program itu dibuka. Mahasiswa tingkat I berjumlah 50 orang, tingkat II 50 orang, tingkat III 26 orang, dan tingkat IV (tingkat akhir) berjumlah 30 orang. Jumlah tenaga dosennya pun paling sedikit dibanding dengan program yang lain, yaitu hanya 4 orang. Pada tahun mendatang, Program Pengkajian Melayu tidak lagi berinduk ke Jurusan Bahasa-bahasa Asia Timur, tetapi dialihkan ke Fakulas Ilmu Politik (Faculty of Political Science).

Program Studi Melayu Studies ini mempunyai Pusat Informasi Melayu Studies (Malay Studies Information Center). Di tempat ini terdapat berbagai data terkait dengan keperluan Pengkajian Melayu, mulai dari buku-buku referensi, berbagai jurnal dan majalah, berbagai peta, dan monograf sosial budaya (cetak, audio, dan audio-visual); juga karya-karya mahasiswa dan dosen. Hanya saja, sebagian besar “sumber informasi” tersebut didominasi oleh dan bernapas Ke-Malaysia-an. Sumber informasi tentang Nusantara dan/atau Indonesia amat terbatas.

Dalam praktik kesehariannya, tempat ini dipakai sebagai “ajang” berdiskusi dan berkreasi para mahasiswa dan dosen baik dari Program Bahasa Melayu maupun Pengkajian Melayu. Pelayanan kepada masyarakat yang terkait dengan Pengkajian Melayu pun dipusatkan di tempat ini, misalnya penerjemahan, pelatihan seni, penelitian, pemberian informasi sosial-budaya, dan sebagainya.

Dari gambaran ini kami optimis bahwa keterlibatan kami di Program Pengkajian Melayu ini sangat diperlukan.

(3) Gambaran Umum Mahasiswa Program Melayu Studies

Sebagian besar (95%) mahasiswa Program Pengkajian Melayu beragama Islam. Komunikasi sehari-hari mereka menggunakan bahasa Thai. Lebih dari 80% mereka juga bisa berbahasa Melayu walaupun dialeknya berbeda dengan bahasa Melayu di Malaysia. Tetapi, ketika diajak berkomunikasi dengan bahasa Melayu dan bahasa Indonesia, mereka bisa memahaminya, walaupun pemahamannya kurang maksimal, yang disebabkan oleh perbedaan beberapa pilihan kata (diksi). Kemampuan rata-rata pemahaman bahasa Inggris mereka sangat kurang, sehingga tidak memungkinkan penggunaan bahasa Inggris sebagai bahasa pengantar perkuliahan.

Pada umumnya wawasan mereka tentang Nusantara dan/atau Indonesia saat kurang. Bahkan, hal yang sangat umum, misalnya nama presiden RI Pertama dan hari kemerdekaan RI, banyak yang tidak mengetahuinya. Tetapi, tentang Malaysia – sampai hal-hal kecil – mereka memahaminya, misalnya tentang Petronas (semacam Pertaminanya Indonesia), nama dan pimpinan partai politik, dan peristiwa mutakhir lainnya.

Secara umum, pandangan mahasiswa (juga dosen dan masyarakat Thailand Selatan pada umumnya) terhadap Indonesia adalah positif, walaupun ada beberapa hal yang sampai sekarang menjadi “tanda tanya besar” bagi mereka, yaitu tentang “Aceh”, “Ambon”, dan “Irian Jaya”. Kepositifan itu terlihat pada penilaian dan sikap mereka bahwa “Bangsa Indonesia itu ramah”, “Bangsa Indonesia adalah saudara kita sesama muslim”, “Bangsa Indonesia tidak ada perbedaan dengan kita”, dan sebagainya.

Dari gambaran kondisi mahasiswa tersebut, kami akan bisa menentukan strategi dan kiat perkuliahan bagi mereka, mulai dari bahasa pengantar yang kami gunakan dalam perkuliahan, topik perkuliahan, dan hal-hal lain yang mengarah kepada “pemberian wawasan tentang Nusantara/Indonesia”.

2.2.2 Program
Berdasarkan hasil orientasi singkat tersebut dan hasil konsultasi kami dengan Ketua Program Pengkajian Melayu, kami menyusun dua jenis program, yaitu (1) program intra kurikuler dan (2) program ekstra kurikuler. Program intra kurikuler berkaitan dengan penyusunan silabus matakuliah yang akan kami ampu; sedangkan program ekstra kurikuler berkaitan dengan rencana serangkaian kegiatan di luar perkuliahan yang mendukung visi dan misi “keindosiaan”.

(1) Program Intra Kurikuler
Pada semester Juni-Oktober 2006, kami mendapatlan kepercayaan untuk membina 4 (empat) matakuliah, yaitu (1) Politics and Government in Nusantara, (2) Seminar in Malay Studies, (3) Malay Civilization, dan (4) History of Nusantara. Keempat matakuliah yang masing-masing dihargai 3 sks tersebut kami laksanakan secara team teacihng dengan dosen setempat. Pada semester November-Maret 2006 kami hanya memberikan advis materi kepada dosen pembina untuk empat matakuliah, yaitu Malay Society I, Malay Intellectual Tradition, Political Economy in Nusantara, dan Legal System in Nusantara dan memberikan kuliah awal (masing-masing 4empat kali pertemuan) karena keberadaan kami di PSU sampai dengan awal Desember 2006. Oleh karena itu, kami tidak menyusun topik atas keempat matakuliah yang disebut terakhir ini.

Berdasarkan silabus keempat matakuliah tersebut, dan berdasarkan hasil pembicaraan kami dengan masing-masing dosen yang bersangkutan, topik-topik setiap matakuliah tersusun sebagai berikut.

a. Topik Matakuliah “Politics and Government in Nusantara”

(Khusus Politik dan Pemerintahan Indonesia)

Gambaran Umum Negara Indonesia

Bentuk Negara

Bendera

Lagu Kebangsaan

Dasar Negara

Ibu Kota

Bahasa Resmi

Bentuk Pemerintahan

Presiden dan Wakil Presiden

Luas Wilayah

Penduduk

Agama

Kekayaan atau Potensi Alam

Tanggal Kemerdekaan

Pendapatan Total dan Per Kapita

Mata Uang

Sistem Kekuasaan Indonesia

(Orientasi pada kedudukan dan fungsi masing-masing Lembaga)

Legislatif: MPR, DPR, DPRD

Eksekutif: Presiden, Gubernur, Bupati/Walikota

Yudikatif: Mahkamah Agung, Pengadilan Tinggi, Pengadilan Negeri

Struktur Pemerintahan Indonesia

(Orientasi pada tugas dan tanggung jawab masing-masing )

Pemerintah Pusat

Pemerintah Daerah Tingkat I

Pemerintah Daerah Tingkat II

Daerah Kecamatan

Desa/Kelurahan

Kampung/RW/RT

Sistem Politik Indonesia

Organisasi Politik

Sifat Kekuasaan dan Kewenangan Presiden

Hak-hak Rakyat

Sistem Pemilihan Umum

(Orientasi pada jenis dan tahapan pemilu)

Pemilihan Parlemen (Pusan dan Daerah)

Pemilihan Presiden

Pemilihan Gubernur dan Bupati/Walikota

Pelaksanaan Pemerintahan Indonesia

(Orientasi pada upaya Indonesia masa lalu)

Susunan Kabinet Indonesia Bersatu

Lemabaga Departemen dan Non Departemen

Lembaga Non Pemerintah

Kasus-kasus Politik di Indonesia

(Orientasi pada kasus politik yang aktual)

Kasus Timor Timur

Kasus Aceh

Kasus Irian Jaya

Kasus Teroris

Kasus Ambon

b. Topik Matakuliah “Seminar in Malay Studies”

(Orientasi pada Indonesian Studies)

Pengertian Melayu Studies

Kehidupan Masyarakat Melayu

Fungsi Keluarga dalam Tradisi Malayu

Upacara Kelahiran

Upacara Perkawinan

Upacara Kematian

Gotong Royong

Koperasi

Pengaruh Kepercayaan dalam Kehidupan Masyarakat

Dukun

Hantu

Tabu

Ruwatan

Perobatan Tradisional

Budaya Tradisional Masyarakat Melayu

Permainan Tradisional

Kesenian Tradisional

Pengaruh Budaya Populer dalam Masyarakat Melayu

c. Topik Matakuliah “Malay Civilization”

(Orientasi pada Kebudayaan Indonesia)

Pengertian Peradaban

Jenis-jenis Peradaban: Sistem Kepercayaan, Sistem Kekerabatan, Sistem Sosial, Sistem Ekonomi

Suku Melayu

Suku Minangkabau

Suku Aceh

Suku Batak

Suku Jawa

Suku Sunda

Suku Madura

Suku Dayak

Suku Bugis

Suku Bali

d. Topik Matakuliah “History of Nusantara”

(Khusus Sejarah Indonesia)

Prasejarah

(Orientasi pada jenis dan ciri-ciri fisik manusia purba Indonesia)

Megantropus

Pithecantropus

Homo Erectus

Masa Kerajaan dan Kesultanan

(Orientasi pada kejayaan bangsa Indonesia pada masa lalu, baik dari segi ekonomi maupun sosial-budaya)

Kerajaan Kutai

Kerajaan Tarumanagara

Kerajaan Sriwijaya

Kerajaan Singasari

Kerajaan Majapahit

Kerajaan Demak

Kesultanan Mataram

Kesultanan Samudara Pasai

Kesultanan Ternate dan Tidore

Masa Kolonial

(Orientasi pada kegigihan perjuangan bangsa Indonesia)

Kedatangan Portugis

Kedatangan Belanda

Kedatangan Inggris

Penyerahan Kekuasaan Inggris ke Belanda

Kedudukan Jepang

Proklamasi

(Orientasi pada langkah konkret upaya pendirian negara Indonesia)

Dasar Negara

Lambang Negara

Teks Proklamasi

UUD 1945

Orde Lama

(Orientasi pada pelaksanaan pemerintahan Indonesia)

Sistem Pemerintahan

Penggalangan Kerja Sama dengan Luar Negeri

Pembangunan Ekonomi

Beberapa Kasus yang Menonjol dan Upaya Pemecahannya

Orde Baru

(Orientasi pada upaya pemakmuran bangsa dan stabilisasi nasional)

Pembangunan Manusia Indonesia Seutuhnya

Penggalakan Penanaman Modal Luar Negeri

Orde Reformasi

(Orientasi pada penataan masa depan Indonesia secara menyeluruh)

Penataan Politik

Penataan Ekonomi

Penataan Sosial dan Budaya

Program Ekstra Kurikuler

Kegiatan ekstra kurikuler yang kami programkan dalam rangka mengemban visi dan misi “ke-Indonesia-an” adalah sebagai berikut.

Program “Indonesian Corner”. Program ini bertujuan memberikan pelayanan kepada mahasiwa (juga dosen dan masyarakat) yang ingin belajar bahasa Indonesia dan yang ingin memperoleh informasi tentang Indonesia – juga Nusantara – (khususnya menyangkut sosial budaya).

Program Pameran Pendidikan Indonesia bertepatan dengan “Open House PSU”. Program ini bertujuan mengenalkan program pendidikan yang ada di Indonesia, utama program pemberian bea siswa yang disediakan oleh pemerintah dan/atau perguruan tinggi di Indonesia.

Program “Indonesian Night”. Program ini bertujuan memberikan tampilan ekspresi kesenian Indonesia sebagai khasanah budaya bangsa yang layak untuk diapresiasi.

Program “Studi Banding” ke Indonesia. Program ini bertujuan memberikan informasi dan pengalaman langsung (lewat pengamatan real) kepada mahasiswa tentang sosial budaya Indonesia.

2.2.3 Pelaksanaan

Intra Kurikuler

Pelaksanaan perkuliahan keempat matakuliah tersebut kami lakukan secara team teaching (2 orang), dengan porsi sajian tiga jam per minggu (@ 50 menit). Topik-topik yang telah kami susun dalam silabus setiap matakuliah telah tersajikan sesuai dengan rencana. Bahkan, ada beberapa topik yang menjadi minat mahasiswa untuk didalami dalam tugas akhir perkuliahannya.

Sebagian besar materi perkuliahan kami akses dari internet. Setiap mahasiswa memperoleh garis-garis besar materi sebelum perkuliahan berlangsung sehingga mereka bisa mengikuti dan memahami setiap perkuliahan kami. Gambar dan foto untuk menunjang perkuliahan pun kami tampilkan lewat slide sehingga lebih menarik dan lebih memantapkan pemahaman mahasiswa. Bahkan, kami pun memutarkan beberapa kali film Indonesia agar mereka mempunyai gambaran tentang “keadaan” Indonesia.

Hasil evaluasi akhir (semester) terhadap setiap matakuliah menunjukkan gambaran sebagai berikut.

(1) Politics and Government in Nusantara

Jumlah Peserta: 30 orNG

Rentang Nilai:

Yang memperoleh nilai A : 5 orang (16,66%)

Yang memperoleh nilai B+ : 4 orang (13,33%)

Yang memperoleh nilai B : 11 orang (36,66%)

Yang memperoleh nilai C+ : 8 orang (26,66%)

Yang memperoleh nilai C : 2 orang ( 6,66%)

Yang memperoleh nilai D+ : 0 orang ( 0,00%)

Yang memperoleh nilai D : 0 orang ( 0,00%)

Yang memperoleh nilai E : 0 orang ( 0,00%)

(2) Seminar in Malay Studies

Jumlah Peserta: 34 orang

Rentang Nilai:

Yang memperoleh nilai A : 4 orang (11,75%)

Yang memperoleh nilai B+ : 4 orang (11,75%)

Yang memperoleh nilai B : 15 orang (44,11%)

Yang memperoleh nilai C+ : 9 orang (26,47%)

Yang memperoleh nilai C : 2 orang ( 5,88%)

Yang memperoleh nilai D+ : 0 orang ( 0,00%)

Yang memperoleh nilai D : 0 orang ( 0,00%)

Yang memperoleh nilai E : 0 orang ( 0,00%)

(3) Malay Civilization

Jumlah Peserta: 52 orang

Rentang Nilai:

Yang memperoleh nilai A : orang (%)

Yang memperoleh nilai B+ : orang (%)

Yang memperoleh nilai B : orang (%)

Yang memperoleh nilai C+ : orang (%)

Yang memperoleh nilai C : orang (%)

Yang memperoleh nilai D+ : 0 orang ( 0,00%)

Yang memperoleh nilai D : 0 orang ( 0,00%)

Yang memperoleh nilai E : 0 orang ( 0,00%)

(4) History of Nusantara

Jumlah Peserta: 27 orang

Rentang Nilai:

Yang memperoleh nilai A : 5 orang (18,51%)

Yang memperoleh nilai B+ : 0 orang ( 0,00%)

Yang memperoleh nilai B : 8 orang (29,62%)

Yang memperoleh nilai C+ : 7 orang (25,92%)

Yang memperoleh nilai C : 7 orang (25,92%)

Yang memperoleh nilai D+ : 0 orang ( 0,00%)

Yang memperoleh nilai D : 0 orang ( 0,00%)

Yang memperoleh nilai E : 0 orang ( 0,00%)

Penilaian ini kami lakukan secara silang dengan dosen setempat sehingga keobjektifannya bisa terjaga.

Ekstra Kurikuler

Dari keempat program ekstra-kurikuler, yang sudah terealisasikan hanya tiga kegiatan, yaitu “Indonesian Corner”, “Open PSU”, dan “Indonesian Night”. Program “Studi Banding” ke Indonesia baru bisa terlaksana sekitar April-Mei 2007.

Kegiatan Indonesian Corner mendapat sambutan positif dari mahasiswa dan dosen, terutama pelatihan bahasa Indonesia dan informasi tentang sosial budaya Indonesia. Bahkan, ada beberapa orang dari luar kampus (pengusaha travel) yang berkonsultasi tentang daerah wisata di Indonesia yang layak dikunjungi.

Pada acara Open PSU pada 14 – 18 Agustus 2006 kami membuka stand “Indonesia” bekerja sama dengan Konsulat Indonesia di Songkhla. Taggapan pengunjung sangat baik sehingga brosur tentang informasi pendidikan di perguruan tinggi Indonesia yang tercetak sekitar 500 buah habis dalam tempo dua hari. Kegiatan ini mendapatkan dukungan penuh dari Konsulat RI di Songkhla.

Acara Indonesian Night yang berlangsung 30 Agustus 2006 (jam 19.00 – jam 23.00) di Hall PSU berlangsung secara meriah. Dihadiri sekitar 400 orang (mahasiswa, dosen, dan masyarakat umum). Acara yang ditampilkan secara live ini menampilkan gending Jawa, tari Jawa, tari Bali, irama Melayu, dengan melibatkan sekitar 30 orang. Bapak Konsul RI di Songkhla berkenan memberikan sambutan pada acara ini. Kegiatan ini sepenuhnya mendapatkan dukungan finansial dari Konsulat RI di Songkhla.

Kegiatan Studi Banding ke Indonesia akan dilaksanakan sekitar April-Mei 2007. Yang berminat mengikuti program ini sekitar 15 orang mahasiswa, yang semuanya dari angkatan tahun ketiga. Kegiatan tersebut kami arahkan ke Jawa Timur karena di daerah ini banyak peninggalan sejarah yang bisa dikunjungi, yaitu Trowulan (Mojokerto), Singosari (Malang), dan Penataran (Blitar). Di samping itu, para mahasiswa bisa berkunjung ke kampus Universitas Negeri Malang untuk memperoleh informasi berkaitan dengan program Indonesian Studies.

2.2.4 Penutup

Berdasaran hasil pelaksanaan program dan pengamatan kami selama Juni-Desember 2006 di PSU Kampus Pattani kami memberikan simpulan dan saran sebagai berikut.

Simpulan

Program “Indonesian Studies” belum bisa dilaksanakan secara mandiri di PSU Pattani karena selain tenaganya masih tidak memenuhi syarat, program ini belum menjadi prioritas bagi PSU. Bahkan, program Pengkajian Melayu yang selama ini sudah berjalan empat tahun masih perlu pembenahan yang cukup serius.

Rencana membuka sajian matakuliah “Bahasa Indonesia” pada semester November 2006 pun belum bisa terlaksana karena masih berkonsentrasi pada sajian matakuliah pada Program Pengkajian Melayu.

PSU Kampus Pattani, khususnya program Pengkajian Melayu, masih memerlukan keterlibatan dan uluran tangan “kita”, terutama – secara makro – pembenahan tentang “wawasan” Pengkajian Melayu. Sebab, selama ini Pengkajian Melayu lebih – bahkan hanya – diarahkan pada wawasan Malaysia saja, baik matakuliah yang berlabel “Malay” maupun “Nusantara. Pendangkalan ini terjadi karena semua tenaga dosen Pengkajian Melayu berasal dari alumni perguruan tinggi di Malaysia.

Sebagian besar buku bacaan dan dokumen-dokumen yang berada di Pusat Sumber Pengkajian Melayu berasal dari Malaysia. Kondisi ini selain akan memperkuat wawasan mereka terhadap Malaysia, sekaligus bisa mempersempit dan membatasi wawasan mereka terhadap Indonesia.

Saran

Berdasarkan simpulan tersebut, beberapa hal yang patut diperhatikan adalah sebagai berikut.

Program kerja sama yang sudah dirintis selama satu semester ini perlu ada kesinambungan sehingga peletakan dasar-dasar pemahaman (wawasan) tentang “Indonesia” yang telah dilakukan bisa dikembangkan bahkan dimantapkan lebih lanjut.

Pelaksanaan Program lanjutan ini perlu ada koordinasi yang baik dari semua pihak (yaitu antara Kedutaan Besar RI di Bangkok c.q. Atase Pendidikan dan Kebudayaan, Dirjen Dikti, Perguruan Tinggi Penyedia Tenaga, dan Perguruan Tinggi Penerima) sehingga tidak terjadi sikap “setengah hati” oleh pihak-pihak tertentu.

Tenaga yang dikirimkan hendaknya dipersiapkan sedemikian rupa sehingga benar-benar bisa menjalankan tugasnya sesuai dengan visi dan misinya. Persiapan ini akan lebih efektif apabila terlebih dahulu diketahui gambaran umum dan kondisi kampus tempat bertugas, terutama kondisi programnya.

Fasilitas-fasilitas utama untuk menunjang kelancaran tugas pun perlu dilengkapi, misalnya komputer, buku-buku bacaan, dan sebagainya.

Perlu disusun materi yang relatif lengkap tentang “Indonesian Studies”, terutama yang menyangkut bidang sejarah, ekonomi, politik, sosial, dan budaya.

Refleksi

Sekiranya program kerja sama ini perlu dilanjutkan, perlu pembenahan serius mulai dari kejelasan kewajiban dan tanggung jawab setiap pihak yang terlibat dalam kerja sama tersebut, pemantapan program, pengembangan materi, sampai dengan penyediaan penggajian dan/atau penyedaiaan sarana dan prasarana yang memadai.

Yang terkait dengan kejelasan kerja sama, misalnya seberapa jauh kewenangan UM menyediakan tenaga, apa konrtibusi yang bisa diterima UM dari hasil kerja sama tersebut, apa kewajiban dan tanggung jawab Dubes (c.q. Atase Dikbud) sebagai inisiator kerja sama, dan apa pula kewajiban lembaga sasaran sebagai penerima manfaat langsung dari kerja sama tersebut.

Yang terkait dengan pemantapan program, misalnya bagaimana sasaran setiap satuan program, bagaimana kesinambungan program, dan bagaimana pula tindak lanjutnya.

Yang terkit dengan pegembangan materi, misalnya bagaimana penyediaan materi setiap program, siapa yang menyusunnya, dan bagaimana strategi penerapanya.

Terkait dengan penyediaan penggajiaan dan/atau penyediaan sarana dan prasarana, misalnya siapa yang berkewajiban memberikan gaji bagi tenaga pelaksana, beaya transportasi dan akomodasi, dan penyiapan sarana dan prasana selama menjalankan tugas.